การศึกษาพัฒนาการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด

Main Article Content

กรรณภรณ์ ปิยะจันทร์
พัชรี สุทำ
ดวงจันทร์ แก้วกงพาน
ชิสาพัชร์ ชูทอง

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งในมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด 2) ศึกษาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3) ศึกษาความคิดสร้างสรรค์ 4) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างภาพเคลื่อนที่แบบการเคลื่อนที่หยุดในรายวิชาวิชาวิทยาศาสตร์  2) คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด 3) แบบประเมินความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิทยาศาสตร์ 4) แบบประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 5) แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนแห่งหนึ่ง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนมีพัฒนาการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 2) ทักษะในศตวรรษ
ที่ 21 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97 อยู่ในระดับดี 3) ความคิดสร้างสรรค์มีค่าเฉลี่ย 3.24 อยู่ในระดับดี และ 4) ความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนหลังได้รับกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กรกนก พากิ่ง และคณะ. (2558). การพัฒนากระบวนการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 1. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. 8(2): 30-53.

เขมณัฎฐ์ มิ่งศิริวรรณ. (2559). การออกแบบสื่อการศึกษาสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). ศิลปะการสอนเพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: วีพรินท์.

ฐิตพัฒน์ สตางค์จันทร์ และคณะ. (2560). การพัฒนากิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนโรงเรียนในสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 2. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 11 (1): 343-365.

ณัฐกร สงคราม. (2557). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .

ดวงจันทร์ แก้วกงพาน. (2563). การพัฒนาทักษะการสื่อสารและทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยีของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์

ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมการสร้างเคลื่อนที่แบบหยุดและอินโฟกราฟิก. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 14(2): 29-44.

นิสิต ชำนาญเพชร และคณะ. (2562). การวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้เคลย์แอนิเมชั่นร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดย

ใช้แบบจำลองเป็นฐานที่ส่งเสริมการพัฒนามโนทัศน์ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 21(4): 183-197.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพลิ้วติ้ง.

พิมพ์ชนก แพงไตร. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดทอแรนซ์ เรื่อง อาหารและ

การดำรงชีวิต เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิพัฒน์ศักดิ์ ไชยวงษ์. (2562). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(4): 120-131.

พิณนภา หมวกยอด. (2561). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย

แม่โจ้. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 44(1): 150-184.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ไพฑุรย์ สินลารัตน์, บรรณาธิการ พัชราภา ตันติชูเวช. (2560). บทบาทครูในศตวรรษที่ 21 ในหนังสือ ความเป็นครูและการพัฒนาครู

มืออาชีพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มานพ สิงห์วี และบัญญัติ ชำนาญกิจ. (2556). ผลการสอนโดยใช้เทคนิคผังกราฟิกประกอบรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มี

ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์และความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. 8(23): 115-128.

มานพ เอี่ยมสะอาด. (2561). การวิจัยและพัฒนาภาพยนตร์แอนิเมชันเทคนิคสต็อปโมชั่นเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านแอนิเมชันของคณะ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 11(3): 2402-2421.

รักษิต สุทธิพงษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร. 9(2): 344-355.

วิวัฒน์ มีสุวรรณ. (2558). การพัฒนาสื่อ Augmented Reality. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศศิเทพ ปิติพรเทพิน และคณะ. (2555). การส่งเสริมความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ เรื่อง การแบ่งเซลล์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 4 โดยการสร้างภาพเคลื่อนไหว. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2(1): 115-130.

ศศิเทพ ปิติพรเทพิน และสุรเดช ศรีทา. (2555). ผลการจัดการเรียนรู้วิชาชีววิทยาเรื่องการแบ่งเซลล์โดยการสร้างภาพ

เคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดด้วยดินน้ำมันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา

สังคมศาสตร์. 33(3): 397-409.

ศศิธร บัวทอง. (2560). การวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(2):

-1867.

ศุภรา แสงแก้ว สุรทิน นาราภิรมย์ และเนตรชนก จันทร์สว่าง. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ปรากฏการณ์ของ

โลกและเทคโนโลยีอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัย

ราชภัฏมหาสารคาม. 5(1): 39-48.

สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี. (2561). การจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2553). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119

เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2552). พัฒนาทักษะการคิด พิชิตการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เสี่ยงเชียง.

สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ. (2561). เทคโนโลยีการเรียนการสอนในยุคสารสนเทศกับการออกแบบระบบการเรียนการสอน. วารสาร

เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 1(1): 1-5.

สุนันทา ยินดีรมย์ และคณะ. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสื่อประสม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 8(2): 65-78.

เสาวลักษณ์ หล้าสิงห์. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้

E) ด้วยสื่อประสม เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. Veridian E-Journal,

Silpakorn University. 8(1): 1243-1255.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ที่เน้น

สมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แนวทางการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการ

ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

อารีย์ มยังพงษ์. (2552). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการเรียนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ. 5(9): 26-33.

อัครเดช นีละโยธิน. (2559). ตัวบ่งชี้ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน: การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์

เชิงโครงสร้าง. หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

มหามกุฏราชวิทยาลัย.

เอกภูมิ จันทรขันตี. (2558). มุมมองของนิสิตครูวิทยาศาสตร์ตอการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ไปใช้ในการสอน

วิทยาศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 9(1): 55-67.

ฮุสนา สา และคณะ. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับการ แสดงทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคงทนในการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านลูโบะบูโละ

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ . 4(1): 27-41.

Alesandrini, K and Larson,L. (2002). Teachers bride to constructivism. The Clearing House, 119-121.

Dale, Edgar. (1969). Audio-Visual Methods in Teaching. 3rd ed., Holt, Rinehart & Winston, New York.