The Study of the Operational Problems of Subdistrict Non - Formal and Informal Education Centers in Lampoon under Office of the Non - Formal and Informal Education

Main Article Content

จันทร์ศิริ ปัญญาวงค์

Abstract

The purpose of this research was to study the operational problems of 51 Subdistrict Non-Formal and Informal Education Centers in Lampoon under the Office of the Non-Formal and Informal Education. The research population was 51 teachers from 51 Subdistrict Non-Formal and Informal Education Centers in Lampoon. The research instrument was 5 rating scales questionnaire with validity at 0.98 level. The data were analyzed using frequency, percentage, mean (), and standard deviation (). The research findings were as follows:


            The overall operational problems of Subdistrict Non-Formal and Informal Education Centers in Lampoon under Office of the Non-Formal and Informal Education were at a moderate level. When each aspect was considered, it was found that the aspect with the highest problem was participation, followed by management, organizing activities, learning, respectively. The problem with the lowest level was monitoring, evaluation and reporting.


 

Article Details

How to Cite
ปัญญาวงค์ จ. . (2022). The Study of the Operational Problems of Subdistrict Non - Formal and Informal Education Centers in Lampoon under Office of the Non - Formal and Informal Education. Education Journal Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University, 3(3), 35–44. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edunsrujo/article/view/254275
Section
Research Articles

References

จักรพงษ์ สงวนชม. (2549). ภูมิปัญญาและการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรดิน กรณีศึกษาหมู่บ้านกะเลา ตำบลหมื่นศรี อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ณัฐชยา พันลาเนา. (2556). การศึกษาสภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคายบริหารการศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนามนุษย์). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ดวงพร หวานเย็น. (2556). การจัดการการสอนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์เรื่องการเขียนเพื่อการสื่อสารโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการเรียนรู้และสื่อสารมวลชน). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระ รุญเจริญ. (2554). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และการประเมินภายนอกรอบ 3. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. (2546). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ประชาชน ประชาสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). ขอนแก่น: ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน.

นิกร กาญจนสิทธิ์. (2557). การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

ปราณี อ่อนศรี. (2557). ACTOR Model: ทางเลือกในการจัดการเรียนรู้ทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 15, 97 - 102.

พูลทรัพย์ เตินเตือน. (2553). สภาพปัญหาและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

สำนักงานการศึกษานอกโรงเรียน. (2554). คู่มือการดำเนินงาน กศน. ตำบล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2551). พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. กรุงเทพฯ: รังสี.

_______. (2553). แนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนให้เป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ตลอดชีวิต. กรุงเทพฯ: รังสี.

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลำพูน. (2559). รายงานผลการประเมินมาตรฐาน กศน. ปี 2559. ลำพูน: ผู้แต่ง.

สุเมธ พุทธินันท์เมธา. (2549). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านป่าหนาม อำเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

โสภา สมหวัง. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาศึกษานอกระบบสำหรับประชากรวัยแรงงาน อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.