พระพุทธศาสนาเพื่อการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับการดูแลผู้ป่วยที่มีความทุกข์จากภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ

Main Article Content

Jiratithigan Sillapasuwan
อัมพวรรณ ถากาศ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑)  เพื่อศึกษาหลักธรรมแห่งการพ้นทุกข์ทางพระพุทธศาสนามาเป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาพยาบาลเยียวยาอย่างเป็นองค์รวมสำหรับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชแก่ผู้ป่วยที่มีความทุกข์จากภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ ๒) เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้ให้บริการและการให้บริการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชแก่ ผู้ป่วยที่มีความทุกข์จากภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ  สามารถสรุปการศึกษาได้ดังนี้ ๑) หลักธรรมในพระพุทธศาสนาเพื่อการพ้นทุกข์ที่สำคัญที่สุดคือหลักอริยสัจ ๔ พยาบาลควรเรียนรู้และเข้าใจในทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรคแปด และปฏิบัติตนให้ทาน รักษาศีลและเจริญจิตภาวนาจนสามารถเข้าใจในหลักธรรมอย่างลึกซึ้งถึงจิตวิญญาณผู้ป่วย ๒) นำสู่กระบวนการรักษาพยาบาลทางเลือกใหม่ ที่สามารถช่วยเหลือเยียวยาผู้ป่วยที่มีความทุกข์ในจิตใจให้บรรเทาจากทุกข์ กลับเข้าสู่ความผาสุกทางจิตวิญญาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ฉวีวรรณ สัตยธรรม. (๒๕๕๗). พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตกับทีมจิตเวชและสุขภาพจิต (Psychiatric-Mental Health Nursing and Psychiatric-Mental Health Team). ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ),การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่มที่ 1 (หน้า 3-23). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส.

ประเวศ วะสี. (๒๕๔๔). สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางจิตวิญญาณ.หมอชาวบ้าน,๒๒(๒๖๑), ๔๑- ๔๖

พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม" มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

พัชนี สมกำลัง ไนติงเกล”. (๒๕๕๖). จิตวิญญาณของผู้นำทางการพยาบาล : ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, ข้อ ๙๓

พรหมคุณาภรณ์, พระ. ( ป.อ.ปยุตฺโต). ๒๕๔๙.สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มูลนิธิพุทธธรรม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ ๔๐. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต, ๒๕๕๗.

ยุทธชัย ไชยสิทธิ์ และคณะ, (๒๕๖๐). การเยียวยาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่มีภาวะบีบคั้นทางวิญญาณ : บทบาทพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์และการดูแลสุขภาพ, ๓๕ (๓) , ๓๑-๓๘.

ยุทธชัย ไชยสิทธิ์ ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์. ( ๒๕๖๓) . การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ.กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๘). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ ๒ แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. หน้า ๖๕-๖๖.

สุรเกียรติ อาชานุภาพ.(๒๕๔๔). สุขภาวะทางจิตวิญญาณคือบ่อเกิดของสุขภาพ.วารสารหมอชาวบ้าน, ๒๒(๒๖๑), ๔⠀

Bartel.M. (2004). What is spiritual? What is spiritual suffering? Journal of Pastoral Care & Couselling,58,187-201.national Journal of Nursing Knowledge. 24

Bhandari, S. (2022). Schizophrenia: An Overview. Retrieved from: https://www.webmd.com/schizophrenia/mental-health-schizophrenia

Cadeira,S., Carvalho,E.C., & Vieira, M.(2013).Spiritual distress-proposing a new definition and defining characteristics. International Journal of Nursing Knowledge. 24 (2),77-84.

Chandradhar Sharma. A Critical survey of Indian philosophy. (varanasi : motilal Banarsidass, 1964

Carpenito-Moyet, L.J. (2004). Nursing diagnosis: application to clinical practice. 10th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Chandradhar Sharma. A Critical survey of Indian philosophy. (varanasi : motilal Banarsidass, 1964.

Herdman, T.H., & Kamitsuru, S. (2014). NANDA international nursing diagnoses: definitions and classification, 2015-2017.

Oxford: Wiley Blackwell.Institute for Health Metrics and Evaluation. Global Burden of Disease. Retrieved from: https://vizhub.healthdata.org/gbd-compare/ Lazarus, R. S., & folkman, S., Stress Appraisal and Coping, (New York: Springer Publishing Company, 1984).

Martin, H., & caldeira, S. (2018). Spiritual distress in cancer patients: a synthesis of qualitative studies. Religions, 9, 285. doi:10.3390/rel9100285.

Richardson, P. (2014). Spiritual, religion and palliative care. Annals of palliative Medicine, 3(3), 150-159.

Chandradhar Sharma. A Critical survey of Indian philosophy. (varanasi : motilal Banarsidass, 1964.