เกณฑ์ตัดสินจริยธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท

Main Article Content

คะนอง ปาลิภัทรางกูร

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาทที่เป็นไปได้ในชีวิตมนุษย์ เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา และหนังสือต่างๆ และใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในทัศนะของพระพุทธศาสนาเถรวาท หลักการต่างๆ ที่สามารถใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมในชีวิตมนุษย์ มีดังนี้ หลักเจตนา หลักสภาวะจิต หลักผลิตผลลัพธ์ หลักการเคารพตนเอง หลักใจเขาใจเรา หลักมัชฌิมาปฏิปทา หลักเสียงสะท้อนจากวิญญูชน และหลักมุ่งตรงต่อนิพพาน นอกจากนี้ยังได้เสนอแนวคิดเรื่องตาชั่งวัดระดับความหนักเบาของกรรม โดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ได้แก่ เจตนา สภาวะจิตใจของผู้กระทำ ความพยายามของผู้กระทำ ขนาดของผู้ถูกกระทำ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทำกับผู้ถูกกระทำ คุณธรรมของผู้ถูกกระทำ และพฤติกรรมของผู้ถูกกระทำ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. อรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.

เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). คติธรรมแห่งชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ๒๕๕๖.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). รักษาใจผู้ป่วยและผู้พยาบาล. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพิมพ์สวยจำกัด, ๒๕๕๑.

พระไพศาล วิสาโล. ของขวัญแห่งชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุภา, ๒๕๕๗.

พระไพศาล วิสาโล. เติมชีวาให้ชีวิต. กรุงเทพมหานคร: เครือข่ายพุทธิกา, ๒๕๕๗.

พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๕๒.

พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ วันจันทร์). จริยศาสตร์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.

มหาวงษ์ พงษาวดารลังกาทวีป. ทั้งภาษาไทยแปลภาษาบาลี ฉบับในหอพระสมุทรวชิรญาณ เล่ม ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทย, ร.ศ.๑๒๙.

มิลินทปัญหาฉบับธรรมทาน. กรุงเทพมหานคร: ซาเร็นการพิมพ์, ๒๕๕๒.

วัชระ งามจิตรเจริญ, ศาสตราจารย์ ดร. พุทธศาสนาเถรวาท. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๖.

วิทย์ วิศทเวทย์. ปรัชญาทรรศน์ : พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๓.

สมภาร พรมทา. พุทธศาสนากับปัญหาจริยศาสตร์ โสเภณี ทำแท้ง และการุณยฆาต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘.

๒. รายงานวิจัย:

วัชระ งามจิตรเจริญ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รายงานผลการวิจัยเสริมหลักสูตร เรื่อง นิพพานในพระไตรปิฎกและอรรถกถา. โครงการวิจัยเสริมหลักสูตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ ๒๕๔๗.

๓. หนังสือภาษาอังกฤษ

Keown, Damien. Buddhist Ethics: A Very Short Introduction. Oxford: Oxford University Press, 2005.

Keown, Damien. The Nature of Buddhist Ethics. New York: Palgrave, 2001.

Gnanarama, Pategama. Essentials of Buddhism. Singapore: Buddha Dharma Education Association Inc, 2000.

Harvey, Peter. An introduction to Buddhism: teachings, history and practices. Cambridge: Cambridge University Press, Second edition, 2012.

Harvey, Peter. An Introduction to Buddhist Ethics. Cambridge: Cambridge University Press, 2000.

Mahanama-sthavira, Thera. The Mahavamsa: The Great Chronicle of Sri Lanka. Modern Text and Historical Commentary by Douglas Bullis. California: Jain Publishing Company, 1999.

Santina, Peter Della. The Tree of Enlightenment: An Introduction to the Major Traditions of Buddhism. Taipei, Taiwan: The Corporate Body of the Buddha Educational Foundation, 1998.

Gorkom, Nina Van. Abhidhamma in Daily Life. Bangkok: Dhamma Study and Propagation Foundation, 1990.