กลวิธีสื่อธรรมในละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม

Main Article Content

ณิชชา จุนทะเกาศลย์

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องกลวิธีการสื่อธรรมในละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย ๓ ประการ คือ (๑) เพื่อศึกษาความหมายและความสำคัญของละครโทรทัศน์สื่อธรรม  (๒) เพื่อวิเคราะห์หลักธรรมในละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม (๓) เพื่อนำเสนอกลวิธีการสื่อธรรมในละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม งานวิจัยนี้ดำเนินการวิจัยในเชิงคุณภาพ ทำการศึกษาจากข้อมูลในพระไตรปิฎก และชาดก ละครโทรทัศน์สื่อธรรมเรื่องกรงกรรม ใช้รูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ สรุปผลการวิจัยแบบอุปนัย


            ผลการศึกษา พบว่า กลวิธีการสื่อธรรมในละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม มีความแตกต่างจากกลวิธีการสื่อธรรมในละครธรรมทางโทรทัศน์ทั่วไป เนื่องจากละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม สื่อสารโดยการผสานความบันเทิงในรูปแบบละครโทรทัศน์เข้ากับหลักธรรมที่แทรกไว้ในละครอย่างสนุกสนาน เป็นธรรมชาติ และแนบเนียน กลวิธีการสื่อธรรมในละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรมแบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ (๑) แนวการเขียนนวนิยาย (๒) การกำหนดเค้าโครงเรื่อง (๓) การสื่อธรรมในบทละครโทรทัศน์ (๔) การสื่อธรรมผ่านตัวละคร  (๕) การสื่อธรรมในละครโทรทัศน์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ข. ข้อมูลทุติยภูมิ
(๑) หนังสือ
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. สมเด็จ.ตำนานพุทธเจดีย์. พระนคร : ศิวาพรพิมพ์, ๒๕๐๓.
กรมศิลปากร.นิบาตชาดก เล่ม ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๐.
________. ศิลาจารึกภาพชาดกวัดศรีชุม จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร, ๒๕๒๖
กาญจนา แก้วเทพ. ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เอดิสันเพรสโปร-ดักส์, ๒๕๔๔.
กิ่งแก้ว อัตถากร. คติชนวิทยา. เอกสารนิเทศการศึกษา ฉบับที่ ๑๘๔. กรุงเทพมหานคร : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู, ๒๕๑๙.
กุสุมา รักษมณี. ปกรณัมนิทาน. กรุงเทพมหานคร : แม่คำผาง, ๒๕๔๗.
จุฬามณี. กรงกรรม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แสงดาว, ๒๕๖๐), หน้า คำนำสำนักพิมพ์.
ตรีศิลป์ บุญขจร. ศาสตร์แห่งวรรณคดีคือตรีศิลป์ : ทฤษฎี สุนทรียะ สังคม. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุคส์, ๒๕๕๕.
_________. นวนิยายกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : บางกอกการพิมพ์, ๒๕๒๓.
โทมัส วิลเลี่ยม ริส เดวิดส์. พระพุทธศาสนาในชมพูทวีป. แปลโดย สมัย สิงหศิริ.พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๑๕.
ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้าน. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๘ เล่มที่ ๑ หน่วยที่ ๒.นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๗.
เปลื้อง ณ นคร. พจนะ – สารานุกรมฉบับทันสมัย เล่ม ๑. พระนคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๖.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์นานมีบุคส์ , ๒๕๕๖.
พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจารี). ปริทรรศน์เวสสันดรชาดก. พระนคร : เสริมวิทย์บรรณาคาร, ๒๕๑๓.
พระพรหมคุณภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม (ฉบับเดิม).พิมพ์ครั้งที่ ๒.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์, ๒๕๕๓.
________. เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม. กรุงเทพมหานคร : บริษัทชุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๕๙.
________. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
________.พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
________.พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๗.
พระราชวิสุทธิโสภณ (วิลาศ ญาณวโร). กรรมทีปนี. กรุงเทพมหานคร : รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์, ๒๕๑๙.
พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ. วรรณคดี. กรุงเทพมหานคร : สร้างสรรค์บุ๊คส์, ๒๕๕๑.
พิมาน แจ่มจรัส. เขียน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แสงดาว, ๒๕๕๖.
รัญจวน อินทรกําแหง. ภาพจากนวนิยาย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แพรพิทยา, ๒๕๑๑.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์, ๒๕๕๖.
รื่นฤทัย สัจจะพันธุ์. ความรู้ทั่วไปทางภาษาและวรรณกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๒๖.
วินิตา ดิถียนต์ (ว.วินิจฉัยกุล). บ้านของพรุ่งนี้. กรุงเทพมหานคร : ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๒๕.
ศุภกาญจน์ วิชานาติ. ธรรมบทและชาดกศึกษา. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธรรมบทและชาดกศึกษา. วิทยาลัยพุทธศาสตร์และปรัชญา : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, ม.ป.ป.
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). คัมภีร์วิสุทธิมรรคแปล(ไทย). พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔๖.
สิริ เพ็ชรชัย. แนะนำคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เล่ม ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ, ๒๕๔๑.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เรืองแสงการพิมพ์, ๒๕๒๘.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิฎกฉบับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ ๑๖. (กรุงเทพมหานคร :
มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
________.คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : เรืองแสงการพิมพ์, ๒๕๒๘.
สุพรรณี วราธร. ประวัติการประพันธ์นวนิยายไทย. กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทย์การพิมพ์, ๒๕๑๙.
สุภัทรดิศ ดิสกุล. ท่องอารยธรรม การค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธุรกิจก้าวหน้า, ๒๕๓๘.
สุภาพรรณ ณ บางช้าง. ประวัติวรรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๖.
(๒) วิทยานิพนธ์/งานวิจัย :
กษิดิ์เดช สุวรรณมาล. การเลือกเนื้อหาและการสร้างบทละครโทรทัศน์ในมุมมองของผู้ผลิตและผู้ชม. การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ๒๕๖๐.
ฉลองรัตน์ ทิพพิมาน.“วิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่องในภาพยนตร์อเมริกันที่มีตัวเอกเป็นสตรี”.วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ทรงพร สุทธิธรรม.“การศึกษาความสามารถในการรับรู้และเข้าใจทัศนะของผู้อื่นของเด็กปฐมวัยที่ผู้ปกครองจัดกิจกรรมนิทานเพื่อส่งเสริมการคลายยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง”.ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๓๔.
ทิวาทิพย์ เทียมชัยภูมิ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมอิงพระพุทธศาสนา: ศึกษาเฉพาะกรณีเรื่องลีลาวดี”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
เทพรัตนราชสุดาฯ, สมเด็จพระ. “ทศบารมีในพระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓.
นภัทร อารีศิริ.“การวิเคราะห์อุดมการณ์ทางสังคมที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ไทยที่นำมาผลิตซ้ำ”วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๔.
พระมหาทรรศน์ คุณทสฺสี (โพนดวงกรณ์), “การศึกษาเปรียบเทียบพุทธวิธีการสอนในอรรถกถาธรรมบทกับกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, หน้า ๔๖.
พระมหาปรีชา มโหสโถ (เส็งจีน). “อิทธิพลของวรรณคดีบาลีเรื่องปัญาสสชาดกที่มีต่อสังคมไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
พระมหาพิทักษ์ สุเมโธ (ทองเหลือง). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์ห์เรื่องสุวรรณสามชาดก”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
พระมหาวัลลภ บุญล้อม. “การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมชาดกเรื่องวิธุรบัณฑิตฉบับพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงขินวรสิริวัฒน์ กับฉบับภาคเหนือและภาคอีสาน, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๘.
พลอยพรรณ มาคะผล. “ละครรีเมกกับเนื้อหาการถ่ายโยงในละครโทรทัศน์ไทย”. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๘.
ศิริญญา จรเทศ, “วิเคราะห์บทบาทครอบครัวที่มีต่อตัวละครในนวนิยายของ ว. วินิจฉัยกุล”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๙.
ศิวาพร วัฒนรัตน์. วรรณกรรมนิทานคำโคลงของล้านนา : ลักษณะเด่นภูมิปัญญาและคุณค่า. เอกสารโครงการวิจัย สกว. .กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๕๓.
สมโภชน์ ยิ่งสังข์. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์ศีลบารมีในภูริทัตชาดก”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.
สายวรุณ น้อยนิมิต. “อรรถกถาชาดก : การศึกษาในฐานะวรรณคดีคำสอนของไทยและความสัมพันธ์กับวรรณคดีคำสอนเรื่องอื่น”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
สินียา ไกรวิมล. “ลักษณะของบทละครโทรทัศน์ไทยที่ได้รับความนิยมหลังข่าวจากปี พ.ศ.๒๕๓๓- ๒๕๔๔”.วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕.
สิริภาจุฑาภรณ์, พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า. “จิตรกรรมฝาผนังล้านนาเรื่องพระมหาชนกจากบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕.
สุดาวดี ใยพิมล. “ความสามารถในการจำแนกพฤติกรรมด้านความซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัยที่ได้ฟังการเล่านิทานโดยใช้หุ่นมือ และการเล่านิทานโดยการแสดงบทบาทสมมุติประกอบ”. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๓๓.
สุรพงษ์ จันลิ้ม. “ศึกษาวิเคราะห์คุณธรรมจากชาดกตามที่ปรากฏในสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๔”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
สุรัสวดี อิฐรัตน์. “ประติมาณวิทยาบนเสมาบ้านกุดโง้ง จังหวัดชัยภูมิ”. สารนิพนธ์ประกอบการศึกษาตามระเบียบปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๑.
หลาน เฟิน. “กลยุทธการสื่อสารการตลาดของบริษัทในสาธารณรัฐประชาชนจีนที่นำเข้าละครโทรทัศน์ไทย”,วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ๒๕๕๗.
อธิตา รัตนพัลลภ.“แนวคิดเรื่องกรรมตามแนวพุทธศาสนาในนวนิยายของทมยันตี”.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๔๖.
อัญชลี ถิรเนตร. “กลยุทธการสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจในหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า”. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

(๓) บทความ
ณิชชา จุนทะเกาศลย์. รูปแบบและกลวิธีการสื่อธรรมนิยายของทมยันตี. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีที่ ๑๔ ฉบับพิเศษ มิถุนายน-กันยายน, ๒๕๖๑.
ทิพภาศิริ แก้วเทศและคณะ. “การเปลี่ยนผ่านละครโทรทัศน์ไทยจากยุคอะแนล็อกสู่ยุคดิจิทัล”. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ ๑๓, พฤษภาคม-สิงหาคม, ๒๕๖๑.
นพวรรณ ยุติธรรม. นักเล่านิทาน. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔, ๒๕๔๖.
บัวบุษรา อัครศรุติพงศ์. บูรณาการความเชื่อเรื่องกรรมและผลของกรรม ในพุทธปรัชญาเถรวาทด้วย มหากัมมวิภังสูตร. วารสารพุทธมัคค์. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑: (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๐), ๔๓-๕๒.
ประวัน แพทยานนท์. “พัฒนาการของละครโทรทัศน์ที่สะท้อนสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน”. บทความวิชาการ วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒. กรกฎาคม – ตุลาคม, ๒๕๕๖.
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร.“วรรณกรรมพระพุทธศาสนาในสังคมยุคใหม่”. บทความทางวิชาการ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
พระมหาสาคร วรธมฺโมภาโส. การศึกษาเชิงวิเคราะห์กฎแห่งกรรมที่ปรากฏในอรรถกถาธรรมบท. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม), ๒๕๖๐, ๑๑-๒๓.
ภัทราวดี ธีเลอร์. “กรณีศึกษาเรื่องบาปบุญที่สะท้อนผ่านละครไทย”. บทความวิชาการวารสารนักบริหาร, ปีที่ ๓๕ ฉบับที่ ๓ .กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๕๖.
วลัย ชวลิตธำรง. “ส่งเสริมห้องสมุดด้วยการเล่านิทาน”. วารสารการศึกษาผู้ใหญ่. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓๕. กรกฎาคม-สิงหาคม, ๒๕๑๕.
สมบูรณ์ ศิงฆานันท์. “การเล่านิทานและอ่านหนังสือให้เด็กฟัง”. คหเศรษฐศาสตร์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๙. กันยายน ๒๕๒๒.

(๔) สัมภาษณ์
สัมภาษณ์ จุฬามณี (นิพนธ์ เที่ยงธรรม). นักเขียนนวนิยายเรื่องกรงกรรม. วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓.
สัมภาษณ์ ยิ่งยศ ปัญญา. ผู้เขียนบทนวนิยายกรงกรรม. วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓.
สัมภาษณ์ กุณกนิช คุ้มครอง. นักแสดงละครเรื่องกรงกรรม. วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๓.
สัมภาษณ์ เมธาวี มหาอัมพรพฤกษ์. ผู้ชมละครโทรทัศน์เรื่องกรงกรรม. วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๓.
(๕) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ :
ละครโทรทัศน์.[ออนไลน์], แหล่งที่มา http://TANPUNG.BLOGSPOT.COM ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖. [๘ พ.ย. ๒๕๖๒].
มหาเวสสันดรชาดก,[ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http ://www.Thaifilm.com/ForumDetail. asp?TopicID=3890& Page=9 [๑๓ พ.ย. ๒๕๖๒].
เงา.[ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/เงา_(ละครโทรทัศน์) ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓. [๙ ธ.ค. ๒๕๖๓].
(๖) อื่น ๆ :
ย้อนชมเหตุการณ์สำคัญ ๖๓ ปี อสมท.. สำนักข่าวไทย ๙ เมษายน ๒๕๕๘. สืบค้นวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๒.
บทวิทยุรายการ. “รู้ รัก ภาษาไทย”. ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย.เมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น.

T. W. Rhys Davids & William, Stede, The Pali Text Society’s Pali – English Dictionary. London : Luzac and Company, 1966.
Aritotle, The Poetics. Great Britian : Oxford at the Clarendon, 1962.