การตัดสินใจทางการศึกษาผ่านประสบการณ์เรื่องเล่าของนักศึกษาจีนคณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต

ผู้แต่ง

  • พิทยา   ลิ่มบุตร คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

การตัดสินใจของนักศึกษาจีน, คณะวิเทศศึกษา, วิภาษวิธี

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งนำเสนอประเด็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของนักศึกษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ธุรกิจระหว่างประเทศ: จีน) คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ผ่านการตั้งคำถามและหาคำตอบในบทสนทนาโดยใช้กรอบแนวคิดวิภาษวิธี การศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของนักศึกษาจีนประกอบด้วย 8 ปัจจัย ได้แก่ (1) การรองรับทางการศึกษา (2) การส่งเสริมและการแนะแนวศึกษาต่อในต่างประเทศ (3) การเปิดโลกทัศน์ในต่างประเทศ (4) ความเชื่อมั่นในคุณภาพการศึกษา (5) ความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างสถาบันการศึกษา (6) ค่าครองชีพ (7) โอกาสการได้งานทํา (8) สังคม วัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยว ปัจจัยทั้ง 8 ประการสามารถนำเหตุผลผ่านประสบการณ์การตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาของนักศึกษาจีนมาพัฒนาหลักสูตร 3 ด้าน ได้แก่ นักเรียนจีนแรกเข้าศึกษา ระบบการจัดการศึกษา ตลาดแรงงานสังคม

Author Biography

พิทยา   ลิ่มบุตร, คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

 

 

References

กมลวรรณ แสงทอง และณัฐพงศ์ ทองเทพ. (2566). ศักยภาพของนักศึกษาสหกิจศึกษาในมุมมองของสถานประกอบการต่อการพัฒนางานสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต, วารสาร Information and Learning. 34(3), 46-61.

จิตติมา วงศ์ราชนันท์, จิรวุฒิ หลอมประโคน และแพรวา ถาวรสถิต. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจ (หลักสูตรภาษาจีน) ในประเทศไทยของนักศึกษาจีน, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 41(1), 35-54.

ดลวัฒน์ บัวประดิษฐ์. (2566). ระเบียบวิธีของมาร์ติน ไฮเดกเกอร์ ใน พิพัฒน์ สุยะ(บรรณาธิการ). วิธีวิทยาทางปรัชญา, กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

ปริชาต จิรวิศิษฐาภรณ์. (2562). ภูเก็ตเมืองสร้างสรรค์ด้านการศึกษา, วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. 15(1), 128-156.

ธุรกิจระหว่างประเทศ: จีน. (2566). สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2566, จาก

https://www.fis.psu.ac.th/th/%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8-%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99/.

Li Yang และวราภรณ์ ไทยมา. (2564). การเติบโตของนักศึกษาจีนและความหลากหลายของหลักสูตร การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย, วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(6), 331-346.

Yan Ye. (2563). การสำรวจปัจจัยการตัดสินใจของนักเรียนจีนสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย, วารสารร่มพฤกษ์. 38(1), 101-117.

บุคลานุกรม

เจิ้ง เซียงเจียว (ผู้ให้สัมภาษณ์). พิทยา ลิ่มบุตร (ผู้สัมภาษณ์). คณะวิเทศศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2566.

ฉาง เจียเซียว (ผู้ให้สัมภาษณ์). พิทยา ลิ่มบุตร (ผู้สัมภาษณ์). คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2566.

พาน ซุน (ผู้ให้สัมภาษณ์). พิทยา ลิ่มบุตร (ผู้สัมภาษณ์). คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตภูเก็ต ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2566.

หยวน ห่าวเจี้ยน (ผู้ให้สัมภาษณ์). พิทยา ลิ่มบุตร (ผู้สัมภาษณ์). คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2566.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-23