ร้านขายเวลา : นัยแห่ง “เวลา” ที่ยึดโยงกับอารมณ์ และจิตวิญญาณของมนุษย์
คำสำคัญ:
เวลา, อารมณ์, จิตวิญญาณบทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้ศึกษาการสร้างความหมายของเวลาในวรรณกรรมเรื่อง ร้านขายเวลา ผู้ศึกษาพบว่าการเสนอประเด็นเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องเวลาไว้อย่างน่าสนใจ วรรณกรรมเสนอประเด็นเกี่ยวกับความหมายของเวลาที่เลื่อนไหลไว้ในเบื้องต้น โดยเน้นไปที่เวลาทางสังคมซึ่งผูกติดกับความทรงจำ และแบบแผนชีวิต ซึ่งนำไปสู่คุณค่า และความสำคัญของเวลาว่าสามารถช่วยสานรอยต่อความทรงจำในสายตระกูล เวลาช่วยเติมเต็มความปรารถนาแห่งชีวิต และเวลาช่วยเยียวยา และปลดปล่อยความทุกข์เศร้า วรรณกรรมเรื่องร้านขายเวลาสร้างความหมายของเวลาว่า เวลา คือ ความทรงจำที่เลื่อนไหล มนุษย์นั้นผูกติดกับความทรงจำ ทั้งดีและร้าย มนุษย์จึงต้องเรียนรู้การจัดการความทรงจำ
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2557). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยพร วิชชาวุธ. (2520). ความจำมนุษย์. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
ฐิตินันท์ บุญภาพ คอมมอน. (2556). บทบาทของสื่อใหม่ในการสร้างค่านิยมทางสังคมและอัตลักษณ์ของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
มูฮำหมัด เหล็มกุล. (2561). “คุณค่าของเวลาในอิสลาม”, วารสารอัล-นูร. 13(25), 223 - 237.
ศรัญย์ภัทร์ บุญฮก. (2563). “พื้นที่และเวลาใน ลิลิตนิทราชาคริต : ลักษณะและความสำคัญ”, วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 40(4). 100 - 119.
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2562). ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ศยาม.
Kim Seonyoung. (2564). ร้านขายเวลา (สุมาลี สูนจันทร์, ผู้แปลและเรียบเรียง). กรุงเทพฯ: piccolo.
Stefan Klein. (2553). เรื่องลับ ๆ ของเวลา (มธุรพจน์ บุตรไวยวุฒิ, ผู้แปลและเรียบเรียง). กรุงเทพฯ: GM BOOKS.
Stephan Rechtshaffen. (2542). เวลาคือพลัง (ศีขริน, ผู้แปลและเรียบเรียง). กรุงเทพฯ: เรือนบุญ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.