พัฒนาการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คำสำคัญ:
พัฒนาการการท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกจาก ผู้นำชุมชน ประชาชนในชุมชน ผู้นำในการจัดการท่องเที่ยวชุมชน สมาชิกชุมชนรวม 15 คน นำข้อมูลที่ได้มาจัดกลุ่ม ตีความ สร้างข้อสรุป และนำเสนอด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า พัฒนาการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนท่าหิน อำเภสทิงพระ จังหวัดสงขลา แบ่งได้เป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 ความจำเป็นด้านเศรษฐกิจ ระดับที่ 2 การท่องเที่ยวและอนุรักษ์ ระดับที่ 3 การพัฒนาสินค้าชุมชน และระดับที่ 4 แหล่งเรียนรู้ โหนด นา เล นอกจากนี้ชุมชนตำบลท่าหินสามารถพัฒนาให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็งทั้งในด้านแหล่งท่องเที่ยว ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชนและวิถีทางวัฒนธรรมได้และสามารถรองรับนักท่องเที่ยวที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อันจะนำไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
References
กลุ่มกิจการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. (2562). วิสาหกิจตาลโตนด โหนด นา เล. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.bedo-community.com/index.php/home/community/37.
กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ และศรันยา แสงลิ้มสุวรรณ. (2555). การท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน. วารสารนักบริหาร, 32(4), 139-146.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2562). ทิศทางการท่องเที่ยวไทยในปี 2562. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน2562, จาก https://www.tatreviewmagazine.com/article/tourism-thailand-2562.
กมลพิพัฒน์ ชนะสิทธิ์ และนรินทร์ สังข์รักษา. (2561). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตลาดน้ำคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(28), 163-176.
กิตติศักดิ์ กลิ่นหมื่นไวย (2561). แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนท่ามะโอ อำเภอเมือง จังหวัด ลำปาง, วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 6(1), 131-148.
แก้วตา ผิวพรรณ, สุทธิสินี ถิระธรรมสรณ์ และวินัย เชื่อมวราศาสตร์. (2561). การจัดการความรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดเพชรบูรณ์เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันและความร่วมมือในการรองรับการรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 8(1), 27-33.
เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย. (2558). กระบวนการเรียนรู้เพื่อสืบทอดวิถีโหนด-นา-เล ผ่านศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา (รายงานวิจัย). ในการประชุมระดับชาติ การวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชัยรัตน์ จุสปาโล. (2021). การประเมินศักยภาพการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านท่าหิน บริเวณ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพ ชีวิต, 9(1), 73-86.
ชัยศนันท์ สมปัญญาธิวงศ์ และเอื้องไพร วัลลภาชัย (2559). การศึกษาความพร้อมเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง บ้านตูบค้อ ตำบลกกสะทอน จังหวัดเลย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(3), 10-24.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2540). การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ชุณษิตา นาคภพ. (2561). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมของชุมชนเกยไชย อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวไลยอลงกรณปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(2), 71-80.
นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (รายงานวิจัย). ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่: พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซน์.
ประพัทธ์ชัย ไชยนอก (2554). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาบ้านด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ประยุทธ์ จันทร์โอชา (2562). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www.thaigov.go.th/uploads/document/66/2019/07/pdf/Doc_20190725085640000000.pdf.
มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย. (2556). โครงการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาวิถีโหนด นา เล ณ ชุมชนบ้านท่าหิน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. สงขลา: ออโต้ปริ้น.
วรัญญู แก้วกัลยา และจิรัสย์ ศิรศิริรัศม์. (2560). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในเกาะรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 13(2), 201-215.
เศวตฉัตร นาคะชาต, กรองกาญจน์ ถมแก้ว และอุบลรัตน์ นวลประกอบ. (2559). กลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: กรณีศึกษา ชุมชนท่าหิน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร.
สุกัญญา วงศ์เจริญชัยกุล. (2561). การศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.นครปฐม.
สโรชา อมรพงษ์มงคล. (2561). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในมิติความจริงแท้แลการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษา: เมืองมัลลิกา ร.ศ. 124 จังหวัดกาญจนบุรี (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สำนักข่าวอิสรา. (2562). ททท. เปิดตัวThailand Village Academy โชว์ศักยภาพชุมชนวัฒนธรรมไทย. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562, จาก https://www.isranews.org/isranews-pr-news/80277-isranews-80277.html.
Bywater, M. (1993). The Market for Cultural Tourism in Europe. Travel and Tourism Analyst, 6, 30-46.
ECTARC. (1989). Contribution to the drafting of a charter for cultural tourism. European Centre for Traditional and Regional Cultures, Llangollen, Wales.
McIntosh, R. & Goeldner C. (1986). Tourism: principles, practices, philosophies (6th ed.), New York: John Wiley & Sons, Inc.
McKercher, B. & Cros, H. (2002). Cultural tourism: the partnership between tourism and cultural heritage management. New York: Haworth Hospitality Press.
Mousavi, S. S., Doratli, N., Mousavi, S.N., & Moradiahari, F. (2016). Defining cultural tourism. International Conference on Civil, Architecture and Sustainable Development. London: UK.
Pudaruth, S. K. (2018). Cultural tourism in Mauritius: From rhetoric to reality. Global Journal of Human- Social Science: Sociology & Culture. 18(3). 1-15.
Richards, G. (2018). Cultural tourism: A review of recent research and trends. Journal of Hospitality and Tourism Management. 36(September 2018). 12-21.
Stratan, A., Perciun, R., & Gribincea, C. (2015). Identifying cultural tourism potentials in Republic of Moldova through cultural consumption among tourists. Procedia- Social and Behavioral Sciences. 188 (2015). 116-121.
UNWTO. (2017). Definitions committee on tourism and competitiveness (CTC). Retrieved 2 Jun 2019 from
http://cf.cdn.unwto.org/sites/all/files/docpdf/ctcdefinitionsenweb.pdf.
บุคลานุกรม
พูนทรัพย์ ชูแก้ว (ผู้ให้สัมภาษณ์). เกตวดี หมัดเด็น (ผู้สัมภาษณ์). ที่ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2562.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารอินทนิลทักษิณสาร, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยทักษิณ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.