การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการสร้างพลเมืองตื่นรู้สำหรับครูสังคมศึกษา

ผู้แต่ง

  • วิภาพรรณ พินลา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • วิภาดา พินลา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

คำสำคัญ:

การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ, พลเมืองตื่นรู้, สังคมศึกษา

บทคัดย่อ

ในยุคสมัยที่โลกถูกเชื่อมโยงกันเป็นหนึ่งเดียวด้วยเทคโนโลยี และระบบทุนนิยมมีผลกระทบกับทุกพื้นที่ สื่อเป็นเครื่องมือหลักและถูกใช้อย่างทรงพลัง โดยเด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มหลักที่ถูกเชื้อเชิญให้ได้สัมผัสความก้าวหน้าที่ทันสมัยนั้น ซึ่งอาจมาพร้อมกับการขาดทักษะการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการสร้างพลเมืองตื่นรู้ในสังคมยุคใหม่ได้ ดังนั้น ครูสังคมศึกษาจึงมีบทบาทสำคัญยิ่งที่ต้องมีความรู้ ทักษะ และเจตคติในการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษา ซึ่งมี 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาค้นคว้าปัญหาสังคมศึกษา     ขั้นที่ 2 สำรวจประเด็นปัญหาสังคมศึกษา ขั้นที่ 3 วิเคราะห์และนำเสนอตัวอย่างสื่อสังคมศึกษา และ ขั้นที่ 4 สร้างสรรค์เนื้อหาและผลิตสื่อสารสนเทศทางสังคมศึกษา โดยแต่ละขั้นตอนสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเลือกใช้สื่อได้อย่างสร้างสรรค์ปลอดภัย และเกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตในอนาคตของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กฤษณา ชาวไทย. (2556). พัฒนาการและการขับเคลื่อนแนวคิดการรู้เท่าทันสื่อในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

โตมร อภิวันทนากร. (2552). คู่มือจัดกระบวนการและกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ปิ่นโต.

ธีรพัฒน์ วงศ์คุ้มสิน. (2562). ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ การรู้เท่าทันสื่อ และความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 45(2), 127-161.

นิธิดา วิวัฒน์พาณิชย์. (2558ก). การพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรม ราชูปถัมภ์.

นิธิดา วิวัฒน์พาณิชย์. (2558ข). การพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์, วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 9(3), 209-219.

บุบผา เมฆศรีทองคำ. (2552). การรู้เท่าทันสื่อ : การก้าวทันบนโลกข่าวสาร, วารสารนักบริหาร. 31(1), 117-123.

ประพรรธน์ พละชีวะ, อังคนา กรัณยาธิกุล, ดนุชา สลีวงศ์, เลอลักษณ์โอทกานนท์. (2560). แนวทางการพัฒนากิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย, วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 11(3), 23-30.

ปวีณา มะแซ. (2561). การพัฒนาแบบวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาค. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พรทิพย์ เย็นจะบก. (2552). ถอดรหัส ลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ : คู่มือการเรียนรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ : ออฟเซ็ทครีเอชั่น.

แพรวพรรณ อัคคะประสา. (2557). “แนวคิดและทฤษฎีการรู้เท่าทันสื่อ” ในฐานะวัฒนา .

สุขวงศ์และคณะ. (2557). รู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์.

วิลาสินี พิพิธกุล. (2556). การสร้างสารสนเทศคุณภาพ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศรีดา ตันทะอธิพานิช. (2555). รู้เท่าทันสื่อ ICT. กรุงเทพฯ : เอเชียแปซิฟิคอ๊อฟเซ็ท.

สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. (ม.ป.ป.). คู่มือจัดการเรียนรู้การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลเพื่อการสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ : สถาบันฯ.

สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. (2560). กรอบแนวคิด พลเมืองประชาธิปไตย เท่าทันสื่อสำรสนเทศและดิจิตอล. กรุงเทพฯ : สถาบันฯ.

อัษฎา พลอยโสภณ และมฤษฎ์ แก้วจินดา. (2559). การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดเหตุผล อารมณ์และพฤติกรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร, วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชนูปถัมภ์. 6(2), 145-179.

อุษา บิ้กกิ้นส์. (2555). การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ, วารสารสุทธิปริทัศน์. 26(80), 147-161.

Center for Media Literacy. (2008). Literacy for the 21st century : An overview and orientation guide to media literacy education (2nd ed.). Malibu, CA : Center for Media Literacy.

Christine McWhorter. (2020). The role of agenda melding in measuring news media literacy. Journal of Media Literacy Education, 12(1), 145-158.

Didin Saripudin, Kokom Komalasari & Anggraini, D.N. (2020). Value-Based Digital Storytelling Learning Media to Foster Student Character.International Journal of Instruction. April 2021,Vol.14, No.2. 369-384.

Jason Harshman. (2017). Developing Globally Minded, Critical Media Literacy Skills. Journal of Social Studies Education Research. 8(1), 69-92.

Kersch, D.F. (2019). Hosting and healing: A framework for critical media literacy pedagogy. Journal of Media Literacy Education, 11(3), 37-48.

McKinney, K. (1993). Sociology Through active learning. San Francisco : Jossey-Bass.

Neiny Ratmaningsih & Diana Noor Anggraini. (2018). Developing Civicpedia as a Civic Education E-Learning Media To Improve Students’ Information Literacy. Journal of Social Studies Education Research. 9(3), 45-61.

Nowell, S.D. (2019). Commercials as social studies curriculum: Bridging content & media literacy. Journal of Media Literacy Education, 11(3), 91-97.

Robin Kabha. (2019). Cognitive, Affective, Social and Cultural Aspects of Teaching and Learning in Media Studies. European Journal of Educational Research. Volume 8, Issue 4, 1287 - 1294.

Shin, D.S. (2018). Social Media & English Learners’ Academic Literacy Development. 21st Century Learning & ulticultural Education. MULTICULTURAL EDUCATION, 13-16.

Teemu Valtonen, Matti Tedre, Kati Mäkitalo & Henriikka Vartiainen. (2019). Media Literacy Education in the Age of Machine Learning. Journal of Media Literacy Education 11 (2), 20-36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-26