การพัฒนารายการนำเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวในเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก

ผู้แต่ง

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤติกา สายณะรัตร์ชัย คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา
  • อาจารย์ ดร.อัญชัญ ตัณฑเทศ

คำสำคัญ:

รายการนำเที่ยวเชิงสุขภาพ, นักท่องเที่ยว, เทศบาลนครแม่สอด

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ และศักยภาพทางการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนารายการนำเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวในเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ คือ การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับเทศบาลนครแม่สอด การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวชาวไทย และผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก

จากผลการวิจัยพบว่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในแม่สอดที่มีชื่อเสียงและมีความโดดเด่นมากอันเนื่องมาจากความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและความคิดสร้างสรรค์ของคนในพื้นที่จนเกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่มีความโดดเด่น คือ บ่อน้ำพุร้อนแม่กาษา บ่อน้ำพุร้อนโป่งคำราม หมู่บ้านห้วยปลาหลด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพที่ให้บริการด้านการนวดไทย การทำสปาที่มีชื่อเสียง และได้รับการรับรองมาตรฐาน คือ ศูนย์นวดแผนไทย เทศบาลนครแม่สอด ธาราสปา และผกาวรรณนวดแผนไทย ทั้งยังมีรีสอร์ท และร้านอาหารที่เน้นการจัดทำอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ เฮือนคำฟ้า กอล์ฟ รีสอร์ท ร้านอาหารข้าวเม่าข้าวฟ่าง ซึ่งทำให้ได้รายการนำเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวในเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพให้มีความโดดเด่นและมีเอกลักษณ์ในเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก

References

กรมการท่องเที่ยว. (2559). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2561, จากhttp://www.tourism.go.th/

กรมการท่องเที่ยว. (2560). สถิตินักท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2561, จาก http://www.tourism.go.th/

กรมการท่องเที่ยว. (2561). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.dot.go.th

กรมการพัฒนาชุมชน. (2562). หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : ทริปเปิล บี เพรส.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2561, จาก https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7622

กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร. (2559). เปิดใจ ‘กอบกาญจน์’ ดันท่องเที่ยวสุขภาพและการแพทย์ฮับเอเชีย. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2562, จาก https://www.thaihotelbusiness.com

เกิดศิริ เจริญวิศาล และจุฑามาศ จันทรัตน์. (2543). ความเข้าใจแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเพื่อส่งเสริมให้ไทเที่ยวไทย. จุลสารการท่องเที่ยว. 19(3), 43-54.

จิตตานันท์ ติกุล, สฤษดิ์ ศรีขาว, พิกุล ประดับศรี, จุไรรัตน์ วิสัยดี, และสุวรรณี แพงตาวงษ์. (2550). ศักยภาพและความพร้อมของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดอีสานใต้ (รายงานผลการวิจัย). นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ชัยวุฒิ ชัยฤกษ์, เสรี วงษ์มณฑา และชุษณะ เตชคณา. (2561). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. 14(1), 71-82.

โชติกา ชุ่มมี และศรีนรินทร์ เผ่าพงษ์ไพบูลย์. (2559). เขตเศรษฐกิจพิเศษ…Roadmap ประเทศ และโอกาสทองที่ต้องจับตาจริงหรือ?. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2561, จากhttps://www.scbeic.com/en/detail/product/1167

ณัฏฐ์วรดี คณิตินสุทธิทอง. (2560). ความต้องการของตลาดและศักยภาพในการรองรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2562, จากfile:///C:/Users/Administrator/Downloads/Natworadee..pdf

เติมธรรม สิทธิเลิศ. (2559). ทำความเข้าใจเรื่องการค้าชายแดน:รูปแบบการค้าที่สำคัญของไทยภายใต้กรอบ AEC. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2561, จาก http://www.aseanthai.net

ไทยรัฐ. (2560). เปิดตำนาน เจ้าพ่อพะวอ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่ชาวแม่สอด จ.ตาก. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2562, จาก https://www.thairath.co.th/news/local/north/949820

บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา. (2555). ธุรกิจนำเที่ยว (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : ธรรมสาร.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และเพ็ญศิริ ศรีคำภา. (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : ธรรมสาร.

ปทิตตา ตันติเวชกุล. (2546). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. จุลสารการท่องเที่ยว. 22(1), 29-41.

ประจักษ์ วิฑูรเศรษฐ์. (2551). ผลของการมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไปด้วยกัน. (2560). เที่ยวแม่สอด กอดธรรมชาติ ที่แม่กาษา. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก https://www.paiduaykan.com/travel

พงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์. (2560). ปลัดท่องเที่ยว หวั่นบาทแข็งกระทบการใช้จ่าย-การท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.kaohoon.com/content/165337

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (2556). การท่องเที่ยวไทย. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2562, จาก https://thaichamber.org/en/

เลิศพร ภาระสกุล. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิภาวดี ลี้มิ่งสวัสดิ์, นพรัตน์ ศุทธิถกล และเกษวดี พุทธภูมิพิทักษ์. (2561). ศักยภาพและจุดเด่น
ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ. วารสารวิชาการ สถาบัน
การพลศึกษา. 10(1), 179-189.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2539). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา.

สุเนตรตรา จันทบุรี. (2559). โอกาสและความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจสปาและนวดแผนไทย. วารสารเกษมบัณฑิต. 17(2), 49-63.

สำนักงานจังหวัดตาก. (2560). สถานที่ท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.tak.go.th/

หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ. (2560). มอเตอร์เวย์‘แม่สอด-ตาก’ เพิ่มศักยภาพเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด-เมียวดี. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2561, จากhttp://www.thansettakij.com/

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2562). Homestay บ้านห้วยปลาหลด จ.ตาก ชุมชนกลางพื้นป่าของชาวมูเซอ. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2562, จาก https://tis.dasta.or.th/dastatravel/homestay

Hansruedi. M. & Eveline L. K. (2001). Wellness tourism: Market analysis of a special health tourism segment and implications for the hotel industry. Journal of Vacation Marketing. 7(1), 5-17.

Jiurong, N. (2010). The design and development of tourist souvenir in Hernan. (Master’s Thesis). Henan : Zhongyuan University of Technology.

Kotler, P. (2000). Marketing management. New Jersey : Prentice - Hall.

Lovelock, B. (2003). New Zealand travel agent practice in the provision of advice for travel to risky destinations. Journal of Travel & Tourism Marketing. 15(4), 258-279.

Mueller, H. & Kaufmann, E. L. (2001). Wellness tourism: Market analysis of a special health tourism segment and implications for the hotel industry. Journal of Vacation Marketing. 7(1), 5-17.

Solomon, M. R., Bamossy, G., Askegaard, S. & Hogg, M. K. (2006). Consumer behavior: A European perspective (3rdEd). New Jersey : Prentice - Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-14