การพัฒนารูปแบบการปรับตัวของชาวนาอย่างยั่งยืนใน พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

ผู้แต่ง

  • พรไทย ศิริสาธิตกิจ
  • ธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ

คำสำคัญ:

รูปแบบการปรับตัวของชาวนาอย่างยั่งยืน,ลุ่มน้ำ ทะเลสาบสงขลา, The Model Development of Farmer Adaptation Sustainable, Songkhla Basin Area

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ และปัจจัย
หรือเงื่อนไขของการดำ รงอยู่ของชาวนาในพื้นที่ลุ่มน้ำ ทะเลสาบสงขลา ตลอดจนการ
พัฒนารูปแบบการปรับตัวของชาวนาอย่างยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำ ทะเลสาบสงขลา ซึ่ง
ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ
โดยเป็นการวิจัยในลักษณะของพหุเทศะกรณี
ผลการวิจัยพบว่า การปรับตัวของชาวนาในพื้นที่ลุ่มน้ำ ทะเลสาบสงขลามีการ
ปรับตัวจากการทำ นาภายใต้ระบบเกษตรกรรมแบบยังชีพมาสู่ระบบเกษตรกรรมแบบ
ทวิลักษณ์ และปรับตัวมาสู่การผลิตภายใต้ระบบการเกษตรเชิงพหุลักษณ์ สำ หรับวิธี
ปฏิบัติที่เป็นเลิศในการปรับตัวของชาวนาใน 4 พื้นที่พบว่า พื้นที่ตำ บลบางแก้ว และ
พื้นที่ตำ บลพนางตุง คือ การทำ นา พื้นที่ตำ บล วัดจันทร์ คือ การปลูกผัก และพื้นที่
ตำ บลแหลม คือ การปลูกปาล์มน้ำ มัน
สำ หรับรูปแบบการปรับตัวของชาวนาอย่างยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำ ทะเลสาบสงขลา
นั้นให้ความสำ คัญกับกระบวนการปรับตัว 10 ประเด็น ได้แก่ 1) การพึ่งพาตนเอง
2) กลุ่มวิสาหกิจ 3) กระบวนการเรียนรู้ 4) ความยืดหยุ่นในการปรับตัว 5) การตลาด

6) ระบบเกษตรกรรมเชิงพหุลักษณ์ 7) เครือข่ายชาวนา 8) การสร้างคุณค่าเพิ่ม
9) การส่งเสริมจากรัฐ และ 10) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยเรียกรูปแบบนี้ว่า
“SELF MANAGE MODEL” ซึ่งเป็นรูปแบบที่ผ่านการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิใน
ระดับดีมากและผ่านการรับรองโดยเวทีประชาคม

This research aims to explore performance condition, best practices,
factors or criterions that effect to the existing of farmer in songkhla basin area
as well as to develop the model of farmer adaptation sustainable of songkhla
basin area. In order to accomplish the objectives of this research, a mixed
method design is adopt which consists of quantitative and qualitative
methodologies (Multisite multi-case technique).
The finding of this research demonstrate that the farmers of Songkhla
basin area adapt their procedures of household farming from the characteristics
of agricultural subsistence and dual to the characteristics of agricultural
diversity. Additionally, the best practices of farmer adaptation at 4 areas are
illustrated that Bangkaew and Phanangtung subdistrict areas are expertise of
paddy farming, Wat Chan subdistrict area is excellence of vegetable framing and
Leam subdistrict area is mastery of palm oil plantation. Furthermore, the model
development of farmer adaptation sustainable of songkhla basin areas. named
“SELF MANAGE MODEL” which consists of 10 major significant performances;
1) self-sufficiency, 2) enterprise group, 3)learning procedure, 4) flexible adaptation,
5)marketing, 6) agricultural diversity,7) networks, 8) added value, 9)government
extension, and 10) environmental conservation. Additionally, this model evaluation
is expertized at excellent level and certified by public hearing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-11-28