รูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา

ผู้แต่ง

  • นุชนาฎ จันทร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • สมาน อัศวภูมิ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

รูปแบบการบริหารงานวิชาการ, โรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพ ปญหา และแนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา เพื่อสรางรูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา และเพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา โดยมีขั้นตอนกระบวนการวิจัยเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพ ปญหา และแนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา จากโรงเรียนกรณีศึกษา 3 แหง โดยมีผูใหขอมูลสำคัญ 15 คน ขั้นตอนที่ 2 การสรางรูปแบบบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา ขั้นตอนที่ 3 การนำเสนอรูปแบบ การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขาโดยการประชุมอิงผูทรงคุณวุฒิจำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางและแบบประเมินรูปแบบ วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเนื้อหา

ผลการวิจัยพบวา

1) การศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา เปนไปตามขอบขายงานทั้ง 5 ดาน ไดแก
ดานการวางแผนงานวิชาการ ดานการพัฒนาหลักสูตร ดานการจัดการเรียนการสอน ดานการนิเทศและการพัฒนาการเรียนการสอน และดานการวัดและประเมินผล ปญหาสวนใหญคือ ขาดแคลนบุคลากร โรงเรียนมีกิจกรรมมากทำใหเวลาเรียนในหองเรียนไมเพียงพอ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการยังไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจากครูขาดประสบการณ และการติดตามประเมินผลยังไมเปนระบบ ขาดความตอเนื่อง สวนขอเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางแกไขที่สำคัญคือ ควรมีการสรรหาบุคลากรภายในเพิ่มเติม และจัดอบรมใหความรูแกบุคลากร ประจำการ

2) รูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา ประกอบดวยการวางแผนงานวิชาการตามหลัก PDCA โดยใหบุคลากรมีสวนรวม ดานการพัฒนาหลักสูตร มีการวิเคราะหหลักสูตรเดิม ศึกษาความตองการเพิ่มเติม และจัดเนื้อหาหลักสูตรโดยเนนศีลเดน เปนงาน ชาญวิชา ดานการจัดการเรียนการสอน เนนทักษะและการปฏิบัติเปนหลักดานการนิเทศและการพัฒนาการเรียนการสอน มีการแตงตั้งคณะกรรมการนิเทศ และดำเนินการนิเทศโดยจัดทำแผนปฏิบัติการนิเทศเปนภาคเรียน สวนการวัดและประเมินผล เนนการประเมินผลตามสภาพจริง และขอมูลเชิงประจักษ

3) การนำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสัมมาสิกขา พบวามีความเหมาะสมอยูในระดับ
มากที่สุด โดยมีผูทรงคุณวุฒิบางทานเห็นวา ควรเพิ่มการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการดวย

 

A MODEL OF ACADEMIC ADMINISTRATION OF THE SCHOOLS UNDER THE SAMMASIKHA 

This research aimed to study the states, problems and suggestions of the academic administration of the schools under the Sammasikha, to formulate a model of academic administration of the schools under the Sammasikha, and to propose a model of academic administration of the schools under the Sammasikha. The research consisted of 3 phases : Phase 1, study the states of problems and the academic administration of the school under the Sammasikha. From three case studies of the major contributors to 15 people. Phase 2 , formulating the model of academic administration of studies under the Sammasikha from 3 case studies. Phase 3, of the proposing the model of academic administration of the school under the Sammasikha to connoisseurship of 13 experts. Research to were is a structured interview question and evaluation forms. The Data analyzed using mean standard deviation and content analysis.

The results of this study were as follows.

1) The states of the academic administration of the school under the Sammasikha showed that it was done according to five aspects of administration namely, academic planning, curriculum development, supervision and instruction development, and measurement and evaluation. The problems were personnel shortage, lack of classroom, ineffective instruction integration due to teachers’ experiences, unsystematic and uncontinuous evaluation. The suggestions were finding more personnel and training.

2) The model construction of academic administration Sammasikha revealed that academic planning by PDCA with personnel involvement. The curriculum development began by reviewing the old curriculum and additional needs assessment, contents focused on practical rules, work skills, and academic excellence. Instruction aspect focused on skills and practices. Supervision and instructional development consisted of supervisory committee and semester supervision plan. Authentic evaluation and empirical data were employed for evaluation.

3) The proposed model of academic administration of the school under the Sammasikha found to be appropriate at the highest level, with experts’ suggestion that the curriculum should be more instruction curriculum.


Downloads