การนำนโยบายถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐณิชา ภูกาสอน สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ประสงค กัลยาณะธรรม สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การศึกษาขั้นพื้นฐาน, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, นโยบายสาธารณะ, Basic Education Devolution, Implementation, Public Policy

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของประสิทธิผลในการนำนโยบายถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2) ศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่รับการถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) ศึกษาวาสมรรถนะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใดที่สงผลตอประสิทธิผลในการนำการนโยบายถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประสบผลสำเร็จไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกลุมตัวอยางคือ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น จำนวน 140 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลคือ แบบสอบถาม ซึ่งหาคาความเชื่อมั่นไดเทากับ .954 และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว โดยมีคานัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการวิจัยพบวา

1) ระดับความคิดเห็นของผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น เกี่ยวกับประสิทธิผลในการนำนโยบายถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีการนำนโยบายถายโอนสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่นดานโครงสราง ดานบุคลากร ดานสถานที่ ดานงบประมาณ และดานวัสดุอุปกรณเครื่องมือและเครื่องใช อยูในระดับมาก

2) ระดับความคิดเห็นของผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีตอสรรถนะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับการถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือ ดานการอยูรอด รองลงมาคือ ดานการปรับตัว ดานความพึงพอใจ ดานการพัฒนาเพื่อประสิทธิผลขององคกร ดานความสามารถในการผลิต และดานประสิทธิภาพ และ

3) ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่แตกตางกันสงผลตอประสิทธิผล ในการนำการนโยบายถายโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประสบผลสำเร็จไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

 

THE IMPLEMENTATION OF POLICY ON BASIC EDUCATION DEVOLUTION
FROM MINISTY OF EDUCATION TO LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS

The purposes of this research were 1) to study the level of opinions the effectiveness of the policy on basic education devolution to local administrative organization, 2) to study the level of opinions on the capability of local administrative organization and 3) to study the capability of local administrative organization that affected the effectiveness of the implementation of the policy. The sample group was composed of 140 local administrative organization executive. The instrument used to collect the data was a questionnaire which had .954 confidence value. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and one-way analysis of variance. The level of statistical significance used in the analysis was .05.

Major findings were as follows :

1) Overall the opinions of the local administrative organization executive on the effectiveness of the policy on basis education devolution to local administrative organization ware at a high level. The government structure, personnel, location, budget and equipment and tool aspects were all at a high level.

2) The opinions of the executives on the capability of administrative organizations receiving the basic education transfer were overall at a high level. When each aspect was Considered, it was found that the survival aspect was the highest, followed by the adaptation, satisfaction development for organizational effectiveness, ability to produce and efficiency,
aspects, respectively. And

3) the executives, opinions on the capability of the local administrative organization significantly affected the effectiveness of the implementation of the policy at the 0.05 level of significance, which agreed with the hypothesis.


Downloads