พฤติกรรมผูนำของผูบริหาร โรงเรียนวัดนินสุขาราม
คำสำคัญ:
-บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) พฤติกรรมผูนำของผูบริหาร โรงเรียนวัดนินสุขาราม 2) แนวทางการพัฒนาพฤติกรรมผูนำของผูบริหาร โรงเรียนวัดนินสุขาราม ประชากรที่ใชในการวิจัยคือ บุคลากรโรงเรียนวัดนินสุขาราม จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมผูนำของผูบริหารโรงเรียนตามแนวคิดของกริฟฟทส(Griffiths) สถิติที่ใช คือ คาความถี่ คารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัยพบวา
1. พฤติกรรมผูนำของผูบริหาร โรงเรียนวัดนินสุขาราม โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมากเรียงลำดับคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอยดังนี้ พฤติกรรมผูนำในฐานะผูเขาสังคมไดดี ผูนำในฐานะผูประสานงาน ผูนำในฐานะผูมีความคิดริเริ่มผูนำในฐานะผูโนมนาวจิตใจ ผูนำในฐานะผูใหการยอมรับนับถือ และผูนำในฐานะผูใหความชวยเหลือ
2. แนวทางการพัฒนาพฤติกรรมผูนำของผูบริหาร โรงเรียนวัดนินสุขาราม มีแนวทางดังนี้คือ 1) ผูบริหารโรงเรียนควรเรียนรูพฤติกรรมของบุคคลที่สังคมยอมรับ ศรัทธา สามารถเปนตนแบบในการนำพฤติกรรมที่ดีและเหมาะสมมาประพฤติปฏิบัติตาม 2) ผูบริหารโรงเรียนควรเปดใจรับฟงความคิดเห็นขอเสนอแนะ จากบุคลากรภายในโรงเรียน 3) ผูบริหารโรงเรียนควรเขาประชุม สัมมนา เพื่อเพิ่มพูนความรู และทักษะเชิงปฏิบัติการ
LEADERSHIP BEHAVIOR OF ADMINISTRATORS OF WATNINSUKHARAM SCHOOL
This objectives of this research were to find 1) leadership behavior of administrators of Watninsukharam school, 2) the development guidelines for the administrators’ leadership behavior of Watninsukharam school. The research population were 32 school personnel of Watninsukharam school. The instrument used in the research was a questionnaire regarding leadership behavior of administrators according to the concept of Griffith. The statistics used in the research were frequency, percentage, arithmetic mean,standard deviation, and content analysis.
The results revealed that.
1. Leadership behavior of administrators of Watninsukharam school, overall and individually, was found at a high level: ranking from the highest mean to the lowest mean as follow: the school administrator as a social man, the school administrator as a co ordinator, the school administrator as an initiator, the school administrator as an improver, the school administrator as an effective speaker, the school administrator as a recognizer, and the school administrator as a helper.
2. The development guidelines for the administrators’ leadership behavior of Watninsukharam school were as follows: 1) the school administrator should learn from the role model, 2) the school administrator should listen to school staff’s suggestions, and 3) the school administrator should participate in various seminar to enhance his skill and knowledge.