การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ในพื้นที่ชายขอบจังหวัดชายแดนภาคใต
คำสำคัญ:
การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน, โรงเรียนประถมศึกษาพื้นที่ชายขอบ, School – Based Management, Primary School in Marginal Areaบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) ระดับการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนในพื้นที่ชายขอบจังหวัดชายแดนภาคใต ตามหลักการ SBM ไดแก การกระจายอำนาจการบริหารแบบมีสวนรวมและการบริหารจัดการที่ดี 2) แนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานที่เหมาะสมกับสภาพทองถิ่นพื้นที่ชายขอบจังหวัดชายแดนภาคใต กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ โรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส ที่มีชายขอบติดตอประเทศมาเลเซีย จำนวน 86 โรงเรียน โดยมีผูใหขอมูลสถานศึกษาละ 3 คน ประกอบดวย ผูบริหารครู ผูนำชุมชนที่เปนคณะกรรมการสถานศึกษา รวมผูใหขอมูล 258 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน แบบสัมภาษณกึ่งโครงสรางและสนทนากลุมยอย สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย (x̄) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content Analysis)
ผลการวิจัยพบวา
1. ระดับการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนในพื้นที่ชายขอบจังหวัดชายแดนภาคใต อยูในระดับมาก มีปจจัยที่ปฏิบัติโดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด ไดแก การบริหารงานของโรงเรียน ยึดหลักผูเรียนมีความสำคัญที่สุด สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ดีและมีแผนงานโครงการที่ชัดเจน ผูบริหารมีคุณธรรมจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ และเปนที่ยอมรับของผูปกครองและชุมชน ซึ่งทั้งสามรายการนี้อยูในดานการบริหารจัดการที่ดี สำหรับขอที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุด เรียงความสำคัญไดดังนี้ คณะกรรมการสถานศึกษามีความเขาใจในบทบาทหนาที่ และการดำเนินงานที่ชัดเจน โรงเรียนจัดใหมี ระบบฐานขอมูล เพื่อใชในการเรียนการสอน โรงเรียนใชวิธีการหลากหลายในการประเมินผลการเรียนรูเหมาะสมกับสภาพของนักเรียน ซึ่งทั้งสามรายการอยูในดานการกระจายอำนาจและการบริหารแบบมีสวนรวม
2. แนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานที่เหมาะสมกับสภาพทองถิ่นในพื้นที่ชายขอบจังหวัดชายแดนภาคใต สรุปไดวา ผูบริหารตองมีภาวะผูนำแบบเกื้อหนุน และผูนำแหงการเปลี่ยนแปลง ตองใชหลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารการกระจายอำนาจ จัดการเรียนการสอนโดยใหครูและชุมชนรวมจัดกิจกรรมทางวิชาการ เปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาอยางแทจริง ควรสรางความรู ความเขาใจใหคณะกรรมการสถานศึกษาไดทราบถึงความจำเปนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการสถานศึกษาในฐานะที่จะตองรับผิดชอบตอชุมชน ในบางสถานศึกษามีขอจำกัดในการหาบุคคลที่มีความรูความสามารถและมีความเขาใจในการจัดการศึกษาซึ่งควรมีการปรับแกกฎหมายใหผูบริหารเปนประธานคณะกรรมการสถานศึกษาได
SCHOOL-BASED MANAGEMENT FOR EDUCATIONAL QUALITY DEVELOPMENT IN
PRIMARY SCHOOLS AT SOUTHERN MARGINAL AREA
The study aimed to study the practice levels and guidelines for school-based management in primary schools at Southern marginal areas, Thailand. The simple in the study was 86 schools, selected from Narathiwat provinces. The respondents were the administrators, the teachers, the community leaders who represent in the school board. The total was 258 respondents. The research was both quantitative and qualitative by using interview and focus group for guidelines, and the questionnaire was used for collecting data on the level of administration. The arithmetic mean, standard deviation, and content analysis were used in the analysis of data.
The results were found that:
1. The Level of School based management for educational development of students in the Southern marginal area was at high level. The highest means was weighted in the school administration by student centered principle that congruent with educational act. The administrator has good vision and plan/project clearly moral and ethics as the professional setting. The administrator was acceptable from the parents and community which they were in the good governance principle. For the lower means, the results were found that the school board do not understand in their roles clearly, the schools did not using information for decision making and instruction, the schools uses various methods for learning evaluation to the individuals. These factors were in the principles of decentralization, and participation management.
2. For the guidelines, it was the conclusions that the administrators should be supportive leadership, and transformational leadership, using the principle of good governance in the administration, decentralize the jobs to the teachers and the community to cooperate the academic activities, and open the opportunity for the community participation in educational
management.