แนวทางการส่งเสริมการนิเทศการสอนที่พึงประสงค์ของครูในโรงเรียนวัดปรกเจริญ

Main Article Content

สมจิตนา แสงทอง
ประเสริฐ อินทร์รักษ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การนิเทศการสอนที่พึงประสงค์ของครูในโรงเรียนวัดปรกเจริญ จังหวัดราชบุรี 2) แนวทางในการส่งเสริมการนิเทศของครูในโรงเรียนวัดปรกเจริญ ประชากรในการวิจัย คือผู้บริหารและครูโรงเรียนวัดปรกเจริญ จำนวนทั้งสิ้น  10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ประเภท         1) แบบสำรวจรายการการนิเทศที่พึงประสงค์ในโรงเรียนวัดปรกเจริญ ตามแนวคิดของ กลิกแมน กอร์ดอน และรอส กอร์ดอน (Glickman Gordon ,and Ross Gordon)  2) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา


          ผลการวิจัยพบว่า


          1.การนิเทศการสอนที่พึ่งประสงค์ของครูในโรงเรียนวัดปรกเจริญเป็นการนิเทศแบบร่วมมือ


          2.แนวทางในการส่งเสริมการนิเทศของครูในโรงเรียนวัดปรกเจริญมี 10 แนวทาง คือ  (1) ทำความเข้าใจกับครูผู้รับการนิเทศ (2) รับฟังปัญหาของครูผู้สอน (3) ผู้นิเทศต้องทบทวนปัญหาของครูเพื่อการตอบสนองปัญหาได้อย่างถูกต้อง (4) ผู้นิเทศสนับสนุนข้อมูลครูผู้สอนและต้องเปิดโอกาสให้ครูนำเสนอข้อมูล (5) ผู้นิเทศนำปัญหาของครูมาปรับความเข้าใจเพื่อแก้ปัญหานั้นๆให้เป็นในทิศทางเดียวกัน (6) ผู้นิเทศและครูผู้สอนสรุปปัญหาโดยแลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะ (7) ข้อโต้แย้งระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศควรมีการชี้แจงและหาข้อสรุปที่เหมาะสม (8) ในการหาข้อตกลงในการแก้ปัญหา ผู้นิเทศอาจใช้วิธีการอภิปราย (9) ผู้นิเทศร่วมมือกันหารรือให้ชัดเจน เพื่อกำหนดมาตราฐานในการปฏิบัติ และ (10) ผู้นิเทศสรุปแนวทางและแผนปฏิบัติงานให้เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ. คู่มือการพัฒนาโรงเรียนเข้าสู่มาตรฐานการศึกษา (กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ2544)
กรองทอง จิรเดชากุล.คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน(กรุงเทพ : ธารอักษร,2550)
______. คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธารอักษร จำกัด,2550)
______. คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน (กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ธารอักษร,2550)
กาญจน์ เรืองมนตรี และธรินธร นามวรรณ .การบริหารวิชาการและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้(มหาสารคาม : ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554)
การศึกษานครปฐม เขต 2” (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553)
กิติมา ปรีดีดิลก , อ้างถึงใน วิจิตร วรุตบางกรู, การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื่องต้น (กรุงเทพฯ:อักษราพิพัฒน์, 2557)
คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร. การประชุมทางวิชาการเรื่อง “New Era of Educational Administration” (นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553)
จันทรานี สงวนนาม. ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 2(กรุงเทพฯ:บุ๊คพอยท์,2551)
จอมพงศ์ มงคลวนิช. การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา(กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย,2555)
ชาญชัย อาจิณสมาจาร, การนิเทศการศึกษา (ปัตตานี : สถาบันเพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ, ม.ป.ป.)
ชารี มณีศรี. การนิเทศการศึกษา (กรุงเทพมหานคร: โสภณการพิมพ์, 2542)
______. การนิเทศการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4 (กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์,2538)
Ben M. Harris อ้างถึงใน ชารี มณีศรี, การนิเทศการศึกษา, พิมพ์ครั้งที่ 4 (กรุงเทพฯ:โสภณการพิมพ์, 2542)
ชุติมา แย้มจ่าเมือง. “กระบวนการนิเทศที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร” (วิทยนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554)
ณรงค์ชัย ศรีศศลักษณ์. “การนิเทศในโรงเรียนกลุ่มบางเลน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต2”( การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2553)
ทองอินทร์ วงศ์โสธร. “ทฤษฏีระบบ,” ใน ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่3 (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536)
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. การบริหารงานวิชาการ(กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,2553)
ปฐมา สิทธิสร.” บทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอำเภอพนมทวนจังหวัดกาญจนบุรี” (การค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร,2551)
พรรณภา มหาวิชา. “กระบวนการนิเทศของผู้บริหารโรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมลสังกัดกรุงเทพมหานคร” (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557)
พรรณมาศ พรมพิลา. “ปัจจัยด้านกระบวนการที่ส่งผลต่อการนิเทศการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 1, 2 (มกราคม– มิถุนายน 2554)
พิมพา ศิริวงศ์. “การดำเนินการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนวัดไผ่เงินโชตนาราม สำนักงานเขตบาง คอแหลม สังกัดกรุงเทพมหานคร” (วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2553)
รัชนี ลาภรัตนทอง. “การดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนบ้านวางฝาง” (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2553)
วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์. อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, นิเทศการสอน, พิมพ์ครั้งที่ 9 (นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร,2555)
______. หลักการนิเทศการศึกษา ,(กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536), 31.
วิจิตร วรุตบางกูรและคณะ. การนิเทศการศึกษา(กรุงเทพ: โรงพิมพ์พิฆเณศ, 2538)
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ . เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ.พิมพ์ ครั้งที่ 2 ( กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย,2552 )
วัชรา เล่าเรียนดี. การนิเทศการสอน (Supervision of Instuction) (นครปฐม: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553)
______. การนิเทศการสอน พิมพ์ครั้งที่ 9 (นครปฐมฯ:โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร,2554)
ศิริ จันทะพล . แนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1”( วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย,2552)
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา พ.ศ.2556 – 2558 (กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค, 2556)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีจำกัด 2545)
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. มุ่งสู่คุณภาพการศึกษา (กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช, 2542)
สนั่น มีสัตย์ธรรม. หลักสูตรและการบริหารวิชาการ (กรุงเทพฯ: เอสดีเพรส, 2540)
สงัด อุทรานันท์. การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม ,(กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสยาม, 2530)
Louis A. Allen อ้างถึงใน สงัด อุทรานันท์, การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสยาม, 2530)
สุณีย์รัตน์ วีระสุนทร. “การศึกษาสภาพการนิเทศภายในตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี, 2553)
โสภณ ทองจิตร. “การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผู้นิเทศในโรงเรียนในเครือข่ายบางกุ้ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี” (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2553)
อัมพรกัญ บัวครอง,. “การนิเทศการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนแกนนำการจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2” (สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553)
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา(1) เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2561 เข้าถึงจาก https://panchalee.wordpress.com/2009/03/30/supervision/.
อัญชลี โพธิ์ทอง .นิเทศการศึกษา , พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2549)
Adu, Emmanuel O., Gbadegesin M. Akinloye, and Olabisi F. Olaoye. “Internal and External School Supervision: Issues, Challenges and Wayforward,” International Journal of Educational Sciences 7, 2 (2014)
Brown, W.and D.Moberg .Organization Theory and Management : A Macroapproach (New York :John Wiley & Sons,Inc ,1980).
Briggs,Thomas H., and Justman,Joseph. Improving Instruction Through Supervision (New York :Mcamillan Co,1952),1-4.
Burton, William H. and Lee J.Brueckner, Supervision : A Social Process , 3rd ed. (New York : Appleton-Century-Crofts,1955)
______.,Supervision : A social Process( New York Appleto Century Crofts, Inc., 1976)
Franseth, Jame. Supervision and Leadership (New York :Row Paterson Company ,1961)
Garubo, Raymont C. and S. Rothstein. Suportive Supervision in Schools ,(London: Greenwood Press, 1998)
Glickman, Carl D. Developmental. Supervision : Alternative Practice For Helping Teachers Improve Instruction (Washington D.C. : Association for Supervision and Curriculum Development,1981
Glickman, Carl D.,Stephen P.Gordon,and Jovita M. Ross-Gordon. Supervisory of instruction: A Development Approach, 3rd ed.(Massachusettes; Allyn and Bacon,2001)
______.Supervision of Instruction : Developmental Approach. 4th ed. (Boston: Allyn and Bacon, 2001)
______.Supervision and Instructional Leadership A Deverlopmental Approach,5th ed.(n.p. Allyn and Bacon, 2001)
______.Supervision and Instruction Leadership : A Development Approach. 8thed.(Boston: Allyn and Bacon,Inc.,2001)
Gwynn, Minor J. Theory and Practice of Supervision (New York: Dodd Mead and Company, 1999)
Harris, Ben M,Supervisory. Behavior in Education(New Jersey:Prentice-Hall,Inc,1985)
______.,Supervisory Behavior in Education, in Education, EnglewoodCliffs (New Jersey: Prentice Hall, 1990)
Hoy, Wayne K. and Cecil G. Miskel. C.G., Educational Administration, 6th ed.(New York : McGraw-Hills, 2001)
Lunenburg, Fred C. and Allan C. Ornstein. Educational Administration:Concepts and Practies, 6th ed. (CA: Wadworth Publishing, 2007).
Nelson, Mary Lee and others. “Working with Conflict in Clinical Supervision :Wise Supervisors' Perspectives,” Journal of Counseling Psychology. 55,2 (April, 2008)
Pelling, Nadine Joy. “Supervisory Indentity Development and ItsRelationship to Supervisory Experience Counselling Experience and Training inSupervision,”Dissertation Abstracts International 61, (9 (March 2013)
Rizzo, John F. ”Teacher ‘ and Supservisors ‘ Perceptions of Current and Ideall Supervision and Evalution Practices,” ( University of Massachusetts Amherst,2004),accessed October 8,2013 ,available from http://www.lib.umi.com/dissertations/fullcit/3110901
Robert Goldhammer. and Others, Clinical Supervision, 2nd ed. (New York : Holt Rinehart and Winstion, 1980)
Silva, Diana Yendol. and Nancy Fichtman Dana. “ Collaborative Supervision in the Professional Development School ”(Dissertaion Abstracts International,2001)
Tanner Danial. and Laurel Tanner., Supervision in Education : Problems and Practices ( New York. McMillan Publishing Co., 1987)
Thomas H. Briggs and Joseph Justman. Improving Instuction Through Supervision (New York:McMillan,1995)
Wiles, Kimball. Supervision for Better School, 3rd ed. Eglewood Cliffs.( New Jersy : Prentice – Hall,1983)
Wiles, Kimbal and Lowell,John T. Supervision for Better Schools(New Jersey: Prentice-Hall,1967)
Zachariah, Wanzare. “Instructional Supervision in Public Secondary Schools in Kenya” Educational Management Administration & Leadership Journal 40, 2 (March 2012)