THE DEVELOPMENT OF A GUIDED INQUIRY-BASED ACTIVITY PACKAGE FOR PROMOTING THE INTEGRATED SCIENCE PROCESS SKILLS AND SCIENTIFIC REASONING OF GRADE 5 STUDENT
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research article were 1) to develop the Guided Inquiry-Based Activity Pack for promoting science process skills, scientific reasoning, and learning achievement of Prathomsuksa 5 students, and 2) to study the results of using the activity package. The sample group were 46 Prathomsuksa 5 students at a private school in Bangkok through cluster random sampling. The pre-experimental research was used in this research. The Inquiry-Based Activity Package included booklet for teacher and students, five lesson plans about “Change of substance” concept and tests. The statistics used in the study were percentage, the mean and standard deviation. t-test for Dependent Sample and t-test for One-Sample was used in hypothesis testing. The results showed that 1) all components of the developed Inquiry-Based Activity Package are in high quality based on the assessment of the experts at the most appropriate level. 2) The students’ science process skills, scientific reasoning, and learning achievement mean scores, in overall and each component, after implementing the activity package were higher than the ability before implementation with a statistical significance of .01 level. When compared the scores after implementing the activity set with the criteria at 70%, there is only the science achievement scores passed the criteria with statistical significance at the .01 level, while the students’ science process skills and scientific reasoning scores were less than the determined criteria with statistical significance of .01 level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กมลวรรณ กนัยาประสิทธิ์. (2558). 5 คุณลักษณะสำคัญของการสืบเสาะหาความรู้. แหล่งที่มา http://sciedcenter.swu.ac.th/Portals/25/Documents/News/5%20Essential%20features%20of%20inquiry_Kamonwan.pdf?timestamp=1434440007462 สืบค้นเมื่อ 17 เม.ย. 2564.
กาญจนา เกียรติประวัติ. (2524). วิธีสอนทั่วไปและทักษะการสอน. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.
ชาญชัย อินทรสุนานนท์. (2538). ศูนย์การเรียนและชุดการสอน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ธนพร คลังพหล. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะและการปรากฏของดวงจันทร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 4. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
นันทิยา บุญเคลือบ. (2540). มาตรฐานการศึกษาวิทยานิพนธ์. ใน พงษ์ชัย ศรีพันธุ์ บรรณาธิการ. วารสาร สสวท. กรุงเทพมหานคร: หน่วยการพิมพ์ สสวท.
ปริศนา อิ่มพรหม. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
พิชญา ศิลาม่อม (2561). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สิทธิศักดิ์ จินดาวงศ์. (2555). ผลของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ต่อตัวแทนความคิดเรื่องปรากฏการณ์ดาราศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สิริมา ภู่สวัสดิ์. (2561). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะทางสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุวัฒก์ นิยมค้า. (2531). ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้. กรุงเทพมหานคร: เจเนอรัลบุ๊คส์เซนเตอร์.
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2560). 20 วิธีการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
อริสรา รัชพันธ์. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.