JOB PERFORMANCE MOTIVATION OF TEACHERS IN BENJASIRI ACADEMIC GROUP UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE BANGKOK 2

Main Article Content

Sakarin Sritrakul
Khukrit Silalaiy

Abstract

The purposes of this research were to study and compare job performance motivation of teachers in Benjasiri academic group under the secondary educational service area office Bangkok 2, classified by gender, educational level and age range (according to generations X, Y and Z). The category of this research was survey which the instrument was a rating-scale questionnaire. The statistics used for analyzing data were percentage, frequency, mean, and standard deviation, value testing T- test and one-way ANOVA analysis of variance. The research findings were 1) Job performance motivation of the teachers was collectively found at a high level, ranking from the highest to the lowest mean as follow: responsibility, achievement, the work itself, recognition, and advancement, respectively. 2) Job performance motivation of the teachers classified by gender, educational level, and age range was not statistically significantly different.

Article Details

How to Cite
Sritrakul, S., & Silalaiy , K. (2022). JOB PERFORMANCE MOTIVATION OF TEACHERS IN BENJASIRI ACADEMIC GROUP UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE BANGKOK 2. Journal of Educational Review Faculty of Education in MCU, 9(3), 268–281. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDMCU/article/view/255324
Section
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

จีราภรณ์ พรมสวัสดิ์. (2559). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่เหนือสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณัฐดนัย ไทยถาวร. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

นฤมล ศาลาคาม. (2564). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสำนักงานเขตห้วยขวาง สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปกรณ์ พิมลสกุล. (2559). การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา) สังกัดสำนักการศึกษาเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

พลอยไพลิน อิงบุญ. (2562). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทสยามราชจำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น. 1(1). 1-13.

พัชสิรี ชมภูคำ. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและแรงจูงใจในการทำงาน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบคนเจเนอเรชัน Y และเจเนอเรชัน Z ในเขตกรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 42(3). 1-18.

ภารดี อนันต์นาวี. (2555). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มนตรี.

ยนต์ ชุ่มจิตร. (2558). ความเป็นครู. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

โรงเรียนปทุมคงคา. (2565). ข้อมูลโรงเรียน. แหล่งที่มา http://www.patumkongka.ac.th/. สืบค้นเมื่อ 25 ม.ค. 2565.

โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย. (2565). ข้อมูลโรงเรียน. แหล่งที่มา http://www.prakanong.ac.th/ สืบค้นเมื่อ 25 ม.ค. 2565.

โรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง. (2565). ข้อมูลโรงเรียน. แหล่งที่มา http://www.mtt.ac.th. สืบค้นเมื่อ 29 ม.ค. 2565.

โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต. (2565). ข้อมูลโรงเรียน. แหล่งที่มา http://www.wt.ac.th/web_new/index.php. สืบค้นเมื่อ 28 ม.ค. 2565.

โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ. (2554). พรรณนางาน. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ.

โรงเรียนสิริรัตนาธร. (2565). ข้อมูลโรงเรียน. แหล่งที่มา http://www.srt.ac.th/. สืบค้นเมื่อ 25 ม.ค. 2565.

ศศกร สร้อยศรี. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเตรียมบัณฑิต. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 3(1). 66-78.

สงกรานต์ จันทะนาม. (2561). แรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการครูสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 อำเภออาจสามารถ. แหล่งที่มา http://www.edu-journal.ru.ac.th/AbstractPdf/2561-2-16_1526528143_5824478248.pdf สืบค้นเมื่อ 13 ม.ค. 2565.

สมบัติ อาริยาศาล. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถานศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi. 3(2). 33-46.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (2560-2564). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุภชัย สมฤทธิ์. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนพื้นที่พิเศษเขตพื้นที่การศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อรสา เพชรนุ้ย. (2559). การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

Best, J. W. (1993). Research in Education. Boston: Allyn and Bacon.

Cohen, L., Manion, L., & Morrison, K. (2011). Research Methods in Education. 7th ed. London: Routledge.

Herzberg, Frederick and Others. (1969). The Motivation to work. New York: Jon Wiley and Sons.

Schroer, W. J. (2008). Generations X, Y, Z and the others. The Portal. 40. 9.