การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนวัดบางพลีน้อย จังหวัดสมุทรปราการ

Main Article Content

พระคเณศ ปภสฺสโร ทองผา
สมชัย ศรีนอก
บุญเลิศ จีรภัทร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ๒) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ซึ่งเป็นการ
วิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนวัด
บางพลีน้อย จังหวัดสมุทรปราการ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖o จ านวน ๓๔ คน โดยการเลือก
กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ๑ ชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สถิติที่ใช้
ในการวิจัย ได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
๑. ผลจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มีประสิทธิภาพ (E1 / E2) เท่ากับ ๘๒.๔๑ / ๘๒.๕๓ สูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนด ๘o
/ ๘o ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระเป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากคะแนนระหว่างเรียน
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนโดยรวมจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ
เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .o๕ จากการ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน

Article Details

How to Cite
ทองผา พ. ป., ศรีนอก ส., & จีรภัทร บ. (2018). การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนวัดบางพลีน้อย จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 5(3), 190–198. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDMCU/article/view/178273
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๒). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยาและปรียานุช พิบูลสราวุธ. (๒๕๕๒). ตามรอยพ่อชีวิตพอเพียงสู่การ
พัฒนาที่ยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การพิมพ์เพชรรุ่ง.
ชนาธิป พรกุล. (๒๕๕๑). การออกแบบการสอน : การบูรณาการ การอ่าน การคิดเคราะห์ และการ
เขียน. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :.
ชวลิต ชูก าแพง. (๒๕๕๓). การวิจัยหลักสูตรละการสอน. มหาสารคาม : ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
ชวัลกร แสงทอง. (๒๕๕๖). การพัฒนาชุดการสอน เรื่องมาตราตัวสะกด ส าหรับนักเรียนที่มีปลญหา
ด้านการอ่านออกเสียง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑. วารสารวิชาการ e-Journal of
Inonvative Education. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-ตุลาคม): ๒๑๓.
ปาริชาติ สุพรรณกลาง . (๒๕๕o) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
การอินทิเกรตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเรียนเป็น
รายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อย .วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศรัญญา ศิริวรศิลป์. (๒๕๕๘). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การผลิตสินค้าและบริการ
และความสามารถด้านกระบวนการวิจัย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ด้วยการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. ปีที่ ๘
ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม) : ๑๑๖๙.
สมพร เชื้อพันธ์. (๒๕๔๗). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
กับการจัดการเรียนการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. (หลักสูตรและ
การสอน). บัณฑิตวิทยาลัย: สถาบันราชภัใพระนครศรีอยุธยา.
ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕ ก๒๕๖ .ย .o). แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒. แหล่งที่มา : http://www.nesdb.go.th/
ewt_dl_link.php?nid=2222
สุคนธ์ สินธพานนท์ . (๒๕๕๒) . นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. พิมพ์
ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
Thorndike, Edward L. (1966). Human learning. Cambridge, Mass. : M.I.T. Press.