จีวร : การตัดเย็บจากอดีตถึงปัจจุบัน
Main Article Content
Abstract
ในสมัยพุทธกาล ยังไม่มี “จีวร” ผู้ที่ต้องการออกบวชจะต้องตัดผม เปลี่ยนเครื่องแต่งกาย
ซึ่งในสมัยนั้นมีนักบวช ๒ กลุ่ม คือสมณะกับพราหมณ์ ในครั้งนั้นเจ้าชายสิทธัตถะได้เป็นนักบวชกลุ่ม
สมณะ เป็นผู้ที่ มีศีรษะโล้น นุ่ งห่ มด้วยผ้าที่ เขาทิ้งแล้วจากกองขยะหรือจากป่ าช้ามาท า จีวรใช้ ผ้า
เหล่านั้นส่วนใหญ่จะเปื้อนฝุ่นหรือสกปรก จึงเรียกว่าบังสุกุล ต่อมาสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าเสด็จผ่านทุ่ง
นาในทักขิณาคิรีชนบท ทอดพระเนตรเห็นนาของชาวมคธ พูนดินเป็นคันนาสี่เหลี่ยมจตุรัส ก่อคันนา
ยาวทั้งด้านยาวและด้านกว้าง คั่นระหว่างด้วยคันนาสั้นๆ เชื่อมกันเหมือนทางสี่แพร่ง จึงเกิดแนวคิดให้
น าผ่ามาเย็บติ ดกันเป็นผืนใหญ่เหมือนคันนา จึงกลายมาเป็นศิลปะทางวัฒนธรรมการแต่งกายของ
พระภิกษุสงฆ์ ต่ อมามีผู้เลื่ อมใสศรัทธามาบวชกันมากขึ้นจึงมีความหลากหลายในการใช้สีต่ าง
พระพุทธเจ้าทรงวางกฎเกณฑ์และบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการใช้จีวร
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ ก าเนิดเกิดขึ้นมาถึง ๒ ,๖๐๐ กว่ าปีมาจนถึงปัจจุบัน
พระภิกษุสงฆ์ก็ยังนุ่ มห่ มจีวรในลักษณะนี้ ดังนั้น จีวรนับว่ าเป็นวัฒนธรรมการนุ่ งห่ มที่ บ่ งบอกของ
ความมีศิลปะในเครื่องแต่งกายของพระภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท จีวรที่ใช้นุ่มห่มมีรอ ยเย็บ
ที่มีการน าผ้ามาเย็บต่อกัน และเมื่อเป็นเช่ นนี้เพราะเกิดจากแนวคิดของพระพุทธองค์ที่เกิดจากการ
พิจารณาคันนาอันเป็นสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จึงกลายเป็นงานศิลปะเฉพาะส าหรับเครื่องนุ่มห่มของ
พระภิกษุ ที่มีวิธีการตัดเย็บแบบเฉพาะ
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร