การพัฒนาองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษาในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา
2) เพื่อศึกษาความสำคัญองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา และ 3) เพื่อประเมินองค์ประกอบการบริหาร
โรงเรียนสองภาษา โดยดำเนินการ 3 ขั้นตอน คือ 1) สังเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวกับ
โรงเรียนสองภาษา รวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารโรงเรียนสองภาษาที่ประสบความสำเร็จ 3 โรงเรียน และ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารและวางแผนการศึกษา 3 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบสัมภาษณ์
แบบไม่มีโครงสร้าง 2) ศึกษาความสำคัญขององค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร
โรงเรียนสองภาษาจำนวน 76 โรงเรียน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และ 3) ประเมินองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา
ด้วยวิธีการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษา จำนวน 9 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา ประกอบด้วย ปัจจัยการดำเนินการ 9 องค์ประกอบ
คือ (1) ผู้บริหาร (2) การจัดการเรียนการสอน (3) หลักสูตรและการสอน (4) ครูผู้สอน (5) นโยบาย วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์
(6) การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน (7) โครงสร้างการบรหิ าร (8) เครือข่ายทางการศึกษา และ (9) การพฒั นาครู และบุคลากร
โดยใช้กระบวนการบริหาร 4 ด้าน คือ (1) การวางแผน (2) การจัดองค์กร (3) การนำและ (4) การควบคุม
2) องค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบ และ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิ
ประเมินองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสองภาษา และมีความเห็นสอดคล้องเป็นฉันทามติร่วมกันว่า องค์ประกอบ
การบริหารโรงเรียนสองภาษามีความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้องครอบคลุม
This research was a mixed method research with the purposes to analyze the management factors of the
English program schools in Thailand, study the important levels and evaluate those factors. The research
procedures were divided into three phases as follows: Phase 1: An analysis of data from studying concepts,
theories and research papers related to bilingual education system together with in-depth interviews of
three administrators from successful English program schools and 3 educational experts by purposive
selection using unstructured interview. Phase 2: A study of the important levels of the management factors
was done by using 5-scale estimated standard questionnaires to get opinions from the sample group of 76
administrators of English program schools selected by simple selection method. Phrase 3: An evaluation
of management factors of English program schools was conducted through a focus group discussion
consisting of nine qualified educational experts selected by purposive selection method. Mean and standard
deviation were used to analyze the data. The research findings were as follows: 1) The management factors
of English program schools consisted of nine operation factors: (1) administrators, (2) teaching methods,
(3) curriculum, (4) teachers, (5) policy, vision and strategy, (6) community participation, (7) management
structure, (8) education network and (9) development program for teachers and staff, and four management
process components: (1) planning, (2) organizing, (3) leading and (4) controlling, 2) All management factors
were considered to be at high level of importance, and 3) The qualified educational experts in the focus
group discussion evaluated the management the factors and had consensus that those all factors met the
standards of utility, feasibility, propriety and accuracy.