รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

สุนทร โสภาคะยัง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียน
รู้ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2) สร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่
3) หาประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา
ขนาดใหญ่ ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้นการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา ดำเนินการ 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การ
ศึกษารูปแบบการพัฒนา ภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยการศึกษาเอกสาร สัมภาษณ์
เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ และการวิจัยเชิงสำรวจ ระยะที่ 2 การร่างและสร้างรูปแบบ ประกอบด้วย การร่างและสร้างรูป
แบบ ตรวจสอบร่างรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 3 การปรับปรุงรูปแบบตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4
การทดลองใช้รูปแบบ ทดลองใช้ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
มุกดาหาร 8 โรงเรียน จำนวน 64 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย สรุปได้ดังต่อไปนี้
1. องค์ประกอบของภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่
มี 6 องค์ประกอบ คือ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การจัด
บรรยากาศในห้องเรียน การพัฒนาบุคลากรหัวหน้ากลุ่มสาระการเป็นผู้นำ ที่มีประสิทธิภาพ และการประเมินคุณภาพ
การศึกษา 

2. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำภาวะผู้นำด้านวิชาการของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนร้ใู นโรงเรียนประถมศึกษา
ขนาดใหญ่ ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา และกระบวนการพัฒนา ซึ่งดำเนินการเป็น 4 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการแบบเข้ม 2 วัน ระยะที่ 2 การฝึกปฏิบัติจริง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง
เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ระยะที่ 3 การศึกษาดูงาน และระยะ
ที่ 4 การติดตามผล ติดตามผลหลังการปฏิบัติการ 2 สัปดาห์ โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมภาวะผู้นำด้านวิชาการ
ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล
3. ผลการใช้รูปแบบ พบว่า
3.1 ประสิทธิผลของรูปแบบ พบว่า รูปแบบมีประสิทธิผลระดับมาก เป็นไปตามวัตถุประสงค์รูปแบบ
ที่พัฒนาขึ้น
3.2 ผลการใช้รูปแบบ พบว่า ก่อนทดลองใช้รูปแบบ โดยรวมอยู่ในระดับน้อย ( = 2.39) ด้านที่มีค่า
เฉลี่ยสูงสุด คือ การเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผล และด้านที่มีค่าเฉลี่ยตำสุด คือ การประเมินคุณภาพการศึกษา ระหว่าง
การทดลองใช้รูปแบบ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.98) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การพัฒนาหลักสูตรและการ
จัดการเรียนรู้ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา หลังการทดลองใช้รูปแบบ โดย
รวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.37) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การเป็นผู้นำ ที่มีประสิทธิภาพและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด

คือ การประเมินคุณภาพการศึกษา

The purposes of this research were to : 1) Study the components of instructional leadership
development for the heads of learning substances in a large primary schools under the Office of
the Basic Education Commission in the Northeast Region; 2) Construct a development model of
instructional leadership development for the heads of learning substances in a large primary schools,
and 3) Investigate and present the development model of the leadership development for the heads
of learning substances in a large primary schools according to the developed model. This research
is a research and development (R&D) which was divided into 4 Phases
1 : Studying the development model of the heads of learning substances in a large primary schools
which the researcher studied from documents, depth interviews with luminaries, and survey research,
Phase 2 : Drafting and constructing a model composing of drafting form and verified by the experts,
Phase 3 : Improving the model based on the advice of the experts, and Phase 4: Implementing of the
model. The samples were 64 people in 8 large primary schools under the Office of Mukdaharn
Primary Educational Service Area. The data were analyzed by mean and standard deviation.
The findings were as follow:
1. The 6 components of instructional leadership development for the heads of learning
substances in large primary schools were educational quality development plans, curriculum
development and knowledge management school atmosphere management, heads development of learning
substances and the assessment of educational quality.
2. The development models ship of leadership development for the heads of learning substances
in large primary schools was composed of principles, objectives, contents and development processes
operated into four phases. Phase 1: 2 days intensive workshop, Phase 2 : Intensive workshops 

for 4 weeks and each week consisted of 6 hours and so the total was 24 hours, Phase 3: A study tour
of outstanding primary school, and Phase 4: Monitoring and following - up the performance after
2 weeks by using the assessment of leadership behaviors for the heads of learning substances,
measurement and evaluation.
3. The results of development models were:
3.1 The effectiveness of the model was at the very high level, according to the developed
model.
3.2 The results of the model application were found that before application, as a whole, was
at the low level (x- = 2.39). The highest mean was the efficient leadership and the lowest mean was the
assessment of educational quality. While- application of the model, as a whole, it was at the high level
(x- =3.98). The highest mean was curriculum development and knowledge management and the lowest
mean was the assessment of educational quality. For the post-application of the model, as a whole, was at
the high level (x- = 4.37). The highest mean was the efficiency of leadership and the lowest mean was the
assessment of educational quality.

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)