การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิจารณญาณ และความตระหนักรู้ด้านความ รับผิดชอบ วิชาชีววิทยา 1 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการเรียนแบบเว็บเควสท์ กับการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ (5E)
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนแบบเว็บเควสท์ และบทเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ (5E) เรื่องดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต วิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษา ดัชนีประสิทธิผลบทเรียนแบบเว็บเควสท์และบทเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ (5E) ที่พัฒนาขึ้น 3) เพื่อเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์ และบทเรียนแบบวัฏจักร การเรียนรู้ (5E) 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิจารณญาณ และความตระหนักรู้ด้านความรับ ผิดชอบ ที่เรียนด้วยบทบทเรียนแบบเว็บเควสท์ และบทเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ (5E) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทพาลัย อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 62 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำแนกได้ดังนี้ กลุ่ม 1 นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เป็นกลุ่มที่เรียนด้วยบทเรียนแบบเว็บเควสท์ จำนวน 32 คน กลุ่ม 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/2 เป็นกลุ่มที่เรียนด้วยบทเรียน แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (5E) จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ บทเรียนและแผนการจัดการเรียนรู้แบบเว็บเควสท์ และบทเรียนและ แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (5E) เรื่องดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1 เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา ชีววิทยา 1 เรื่อง ดุลยภาพของสิ่งมี ชีวิต แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ 2) แบบวัดการคิดวิจารณญาณ จำนวน 60 ข้อ ข้อสอบเป็นแบบเลือกตอบ มี 5 ตัวเลือก 3) แบบประเมินความตระหนักรู้ด้านความรับผิดชอบ จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t Sampl (Paired t-test) และ F-test (One–wayMANOVA) T-test แบบ Dependent
Comparisons of Learning Achievement Critical Thinking and Awareness of Responsibility on Biology 1 subject of Mathayomsuksa 4 Students between Learned Using WebQuest and learning cycle lesson (5E)
Patcharin Pronnongsan* Singthong Pattanasethanon and Rattakorn Kidkarn
Educational Technology and Communications, Faculty of Education, Mahasarakham University, Thailand, 44000
This research was aims to (1) to develop WebQuest lesson and learning cycle lesson (5E) in the balance of organism, Biology 1 subject for Matthayomsueksa 4 students with a required efficiency of 80/80, (2) to find out the effectiveness index of the developed WebQuest and learning cycle lesson (5E) Based Learning, (3) to compare the affectiveness study between before and after studied by WebQuest lesson and learning cycle lesson (5E) (4) to compare the affectiveness study, Critical Thinking and Awareness of Responsibility by WebQuest lesson and learning cycle lesson (5E). The sample group of this research was of Mathayomsuksa 4 Students of Tapalai School, Khong District, Nakhonratchasima Province 2 classes, students totally 62 students derived by cluster random sampling divided as follow Group No.1 Mathayomsuksa 4/1 Students was studied by WebQuest totally 32 students Group No.2 Mathayomsuksa 4/2 Students was studied by learning cycle lesson (5E) totally 30 students. The tool of this research was the tool of manage this learning was WebQuest lesson and learning management planning and learning cycle lesson (5E) learning management planning of the balance of organism, on Biology 1 subject, The collect data tool was 1) Inquiry form of the effectiveness study on Biology 1 subject the balance of organism 40 articulations of objective 2) inquiry form of Critical Thinking 60 articulation, 5 choices selective 3) assessment form of the Awareness of Responsibility 20 articulations. The statistically of this research for percentage was, mean, the standard deviation, T-test on dependent sample (paired T - test) and F-test F-test (One – way MANOVA).