การพัฒนาหลักสูตรอาหารปลอดพยาธิที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชนเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างอาชีพและภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี การศึกษานอกระบบ

Main Article Content

ปิยะวรรณ ศรีสุรักษ์
ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์
สุชาติ ทั่งสถิรสิมา
ทองรวี ศิลาน้อย
ปรเมศวร์ จรัสเมธากุล

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรอาหารปลอดพยาธิที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชนเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างอาชีพและภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี  การศึกษานอกระบบ  มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาหลักสูตรฯ 2) พัฒนาหลักสูตร 3) ศึกษาผลการใช้หลักสูตร 4) ศึกษาผลกระทบของการใช้หลักสูตร การดำเนินการวิจัยมี 4 ระยะ 1) ใช้กลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชน ลุ่มน้ำมูล ลุ่มน้ำสงคราม และลุ่มน้ำชี 2) ใช้กลุ่มตัวอย่าง ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เข้าอบรม 3) ใช้กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหาร ครู ผู้เรียน 4) ใช้กลุ่มตัวอย่าง ครู ร้อยแก่น สารสินธุ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ


สรุปผลการวิจัย


1) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาหลักสูตรของชุมชนใน 3 ลุ่มน้ำ พบว่า มีความต้องการพัฒนาหลักสูตรเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน


2) หลักสูตร ประกอบไปด้วย 1) หลักการ 2) จุดหมาย 3) โครงสร้างเนื้อหา 4) ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ 5) แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 6) สื่อการเรียนรู้ 7) แนวทางบูรณาการในหลักสูตรสถานศึกษา 8) การวัดและประเมินผล 9) เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน 10) รายละเอียดเนื้อหา โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบชุมชนเป็นฐาน ขั้นที่ 1 ขั้นนำเสนอ ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติการ ขั้นที่ 4 ขั้นการประเมินผล


3) ผลการใช้หลักสูตร พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมให้ความร่วมมือ สนใจ ตั้งใจ ทุกขั้นตอน พร้อมที่จะต่อยอดความรู้สู่การสร้างอาชีพ ผลการทดสอบก่อน – หลังการอบรม คะแนนเฉลี่ยหลังการอบรม (17.67) สูงกว่าก่อนการเข้าร่วมอบรม (14.39)


4) ผลการศึกษาผลกระทบของการใช้หลักสูตร จากแบบประเมินความคิดเห็น ความพึงพอใจที่มีต่อหลักสูตร

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กนกวรรณ อุ่นใจและคณะ. (2559). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างความเป็นพลเมือง สำหรับเยาวชนไทยด้านความรับผิดชอบ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 17(4), 40-51.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. (เอกสารอัดสำเนา).

กระทรวงสาธารณสุข. (2555). ยุทธศาสตร์เรื่องกำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดีวาระคนอีสาน. นนทบุรี: สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

กิตติ อินทุยศ สมชายปิ่นลออ และพวงรัตน์ ยงวณิชย์. (2555). กระบวนการก่อมะเร็งท่อนำดีในระดับโมเลกุล 1: ปฏิสัมพันธ์การตอบสนองจากโฮสต์ต่อพยาธิใบไม้ตับ. ศรีนครินทร์-เวชสาร, 27(ฉบับพิเศษ), 356-363.

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. [ม.ป.ป.]. การสร้างเครือข่าย. ค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2561, จาก http://www.med.md.kku.ac.th/site_data/mykku_med/701000019/

ทรงพล ตุละทา. (บรรณาธิการ). (2559). โครงการแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารโครงการ CASCAP, 2(5), 5-16.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2557). การพัฒนาหลักสูตร: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วีพรินท์ (1991) .

ฐิติมา วงศาโรจน์ และประภาศรี จงสุขสันติกุล. (2555). คู่มือกำจัดโรคพยาธิใบไม้ตับสำหรับประชาชนเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานในชุมชน. นนทบุรี: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

ณรงค์ ขันตีแก้ว และเอก ปักเข็ม. (2555). การรักษาโรคมะเร็งท่อน้ำดี. ศรีนครินทร์เวชสาร, 27(ฉบับพิเศษ), 340-350.

ณรงค์ ขันตีแก้ว และพวงรัตน์ ยงวณิชย์. (2555). แนวคิดด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการมะเร็งท่อน้ำดีอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ. ศรีนครินทร์เวชสาร, 27(ฉบับพิเศษ), 422-426.

ณัฏฐวุฒิ แก้วพิฑูลย์ และคณะ. (2549). รายงานการวิจัยเรื่อง การตรวจหาและจำแนกพยาธิใบไม้ตับในจังหวัดสุรินทร์ โดยวิธี Kato' Thick Smear. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ทัศนีย์ บุญเติม. (2551). การสร้างหลักสูตร. ขอนแก่น: สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ธิดารัตน์ บุญมาศ. (2558). วิวัฒนาการของพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี: Evolution of Liver Fluke & Cholangiocarcinoma. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล, ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์ และวัชรินทร์ ลอยลม. (2561). การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาหลักสูตรสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในพื้นที่ 3 จังหวัด ใกล้ลุ่มน้ำภาคะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารควบคุมโรค, 44(4), 350-362.

นิษณา นามวาท, วัชรินทร์ ลอยลม และพวงรัตน์ ยงวณิชย์. (2555). กระบวนการก่อมะเร็งท่อน้ำดีในระดับโมเลกุล 2: ยีนที่สัมพันธ์กับการก่อมะเร็งท่อน้ำดี. ศรีนครินทร์เวชสาร, 27(ฉบับพิเศษ มะเร็งท่อน้ำดี), 364-370.

เพ็ญศิริ โฉมกาย. (2560). การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะด้านคุณลักษณะของบัณฑิตนักปฏิบัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(2), 189-200.

ไพบูลย์ สิทธิถาวร. [ม.ป.ป.]. ธรรมชาติวิทยาของพยาธิใบไม้ตับ : หนังสืออ้างอิงเพื่อการเรียนการสอน. ขอนแก่น: ภาควิชาปรสิตวิทยา และศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารอัดสำเนา).

ลัดดา ศิลาน้อย, ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์, อังคณา ตุงคะสมิต และจรรยา บุญมีประเสริฐ. (2554). รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารวิจัย มข., 16(3), 281-291.

วนิดา โชควาณิชย์พงษ์, อำไพ สารขันธ์ และศุลีพร แสงกระจ่าง. (2552). การสำรวจพฤติกรรมและทัศนคติการบริโภคปลาดิบและการเกิดมะเร็งท่อน้ำดี. วารสารโรคมะเร็ง, 29(4), 162-175.

วัชรพงศ์ พุทธิสวัสดิ์, ณรงค์ ขันตีแก้ว, ศิริ เชื้ออินทร์, เอก ปักเข็ม, ชุติมา ตลับนิล และโสพิศ วงศ์คำ. (2555). มะเร็งท่อน้ำดี : ประสบการณ์โรงพยาบาลศรีนครินทร์. ศรีนครินทร์เวชสาร, 27(ฉบับพิเศษ มะเร็งท่อน้ำดี), 331-339.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2551). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาร์น.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2554). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริพล แสนบุญส่ง. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานตามฐานสมรรถนะด้วยกระบวนการเรียน MIAP ระดับปริญญาบัณฑิต. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 8(2), 37-46.

สงัด อุทรานันท์. (2530). ทฤษฎีหลักสูตร. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม.

สงัด อุทรานันท์. (2532). พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมนึก ภัททิยธนี. (2537). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม: ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

สมศักดิ์ อรรฆศิลป์. (2561). สถานการณ์โรคมะเร็งในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 11 กันยายน 2561, จาก http://www.dms.moph.go.th/dms2559/activity_all.php.

สันต์ ธรรมบํารุง. (2527). หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร. กรุงเทพฯ: บรสิงห์.

สุมิตร คุณานุกร. (2523). หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.

สุรพล เวียงนนท์, กฤติกา สุวรรณรุ่งเรืองและ สุพจน์ คำสะอาด. (2555). มะเร็งท่อน้ำดีในจังหวัดขอนแก่น. ศรีนครินทร์ เวชสาร, 27 ฉบับพิเศษ (มะเร็งท่อน้ำดี), 326-330.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: วี พริ้น (1991).

อินทรา เทียมแสน. (2551). ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชน ตำบลน้ำรัด อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่. รายงการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เอื้อมแข สุขประเสริฐ. (2555). การรักษาด้วยยาเคมีบำบัดสำหรับมะเร็งท่อน้ำดีที่ไม่สามารถผ่าตัดได้และระยะแพร่กระจาย. ศรีนครินทร์เวชสาร, 27(ฉบับพิเศษ มะเร็งท่อน้ำดี), 351-355.

Bruce, J., Marsha, W., & Emily, C. (2008). Model of Teaching. 8th ed. Boston: Pearson/Allyn and Bacon.

Colin, J.M., & George, W. (2003). Curriculum: Alternative Approaches, Ongoing Issues. 3rd ed. [n.p.]: Merrill/Prentice Hall.

Hoy, W.K, & Miskel, C.G.. (2005). Educational Administration: Theory, Research and Practice. 7th ed. New York: McGraw-Hill.

Kaepitoon, N. et al. (2007). Knowledge, attitude and practice related to liver fluke infection in northeast Thailand. World J Gastroenterol, 13, 1837-40.

Kemmis, S., & McTaggart, R. (1992). The Action Research Planner. 3rd ed. Geelong: Deakin University.

Mark, S.H. (1994). Promoting Community Change. U.S.A.: Pacific Gove.

Marsh, C.J., & Willis, G. (2007). Curriculum Alternative Approaches, Ongoing Issues. 4th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

McClelland, D.C. (1973). Testing for Competence Rather Than for Intelligence. American Psychologist, 2(8), 1–14.

Novak, J.D., & Tyler, R.W. (1977). Theory of Education. New York: Cornell University.

Oliva, P.F. (2001). Developing the Curriculum. 5th ed. New York: Longman.

Oxford Advanced Learner’s Dictionary of Current English. (1994). Designing effective instruction. New York: Macmillan College Publishing.

Posner, G.J. (1992). Analyzing the Curriculum. New York: McGraw-Hill.

Pree.Steffe, L.P., & Gale, J. (1995). Constructivism in Education. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Saylor, J.G., & Alexander, W.M. (1974). Planning Curriculum for Schools. New York: Holt Rinehart and Winston.

Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. New York: Harcourt.

Thidaratana. L., Teerachai. N., & Watcharin. L. (2019). The Teacher Networking Training by School Based Training for Curriculum Implementation an Immunization Course of Liver Fluke and Bile Duct Cancer for Upper Secondary Student Level in The Northeast Region. (Oral presentation) The 2nd ASEAN Cholangiocarcinoma Conference “Combating Cholangiocarcinoma in southeast Asia”. [n.p.].

Tyler, R.W. (1949). Basic Principle of Curriculum and Instruction. Chicago: University of Chicago Press.

UNECO. (1986). Institute for Statistics, Global Education Digest 2011, Comparing Education Statistics Across the World. Canada: Montreal.

Vilavanh, X., Khampheng, P., Petervan, E., Kongsap, A., & Peter, O. (2013). Consumption in liver fluke endemic areas in rural southern Laos. Acta Tropica, 56(127), 105-111.

Voogt, J., & Roblin, N.P. (2012). A Comparative Analysis of International Frameworks for 21St Century Competences: Implications for National Curriculum Policies. Journal of Curriculum Studies, 44(3), 299-321.

Witkin, B.R. (1984). Assessing Needs in Educational and Social Programs. San Francisco: Jossey-Bass.

Yong-Lin, M. (2007). Education Reform and Competency-Based Education. Asia Pacific Education Review, 8(2), 337-341.