ศึกษาแนวทางการปรับกลยุทธ์การบริหารของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 [A Study of Ways to Improve Business Strategies of Small and Medium Enterprises in Lower-Northeastern Region 2]
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการปรับกลยุทธ์การบริหารของผู้ประกอบการธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 2) ศึกษากลยุทธ์การบริหารของผู้ประกอบการที่ส่งผลต่อผลประกอบการของธุรกิจในทัศนะของผู้ประกอบการในรอบ 1 ปี และเฉลี่ยในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขยาดย่อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ในภาคผลิตและภาคการค้า จำนวน 232 ราย ในเขตจังหวัด ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักการบริหารที่ผู้ประกอบการปฏิบัติ สามารถจัดกลุ่มได้ 11 กลยุทธ์ 2) กลยุทธ์การบริหารที่ส่งผลต่อผลประกอบการ 1 ปี ได้แก่ (1) กลยุทธ์การพัฒนาประสิทธิภาพของพนักงาน (2) กลยุทธ์การกระตุ้นยอดขาย (3) กลยุทธ์การลดต้นทุนการผลิต (4) กลยุทธ์การเข้าร่วม/รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ และกลยุทธ์การบริหารที่ส่งผลต่อผลประกอบการย้อนหลังเฉลี่ย 3 ปี ได้แก่ (1) กลยุทธ์การเข้าร่วม/รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ (2) กลยุทธ์การพัฒนาประสิทธิภาพของพนักงาน (3) กลยุทธ์การเพิ่มความรู้และทักษะทางบัญชี (4) กลยุทธ์การเข้าถึงลูกค้า
Article Details
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. การวิเคราะห์สถิติ : สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
กิตติมา จึงสุวดี. (2559). “กลยุทธ์การบริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง2” ศรีวนาลัยวิจัย. 6(2) กรกฎาคม-ธันวาคม, 1-14.
โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์. SMEs กับการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายแผนงาน ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร, 2542.
จันทร์ธิลา ศรีกระจ่าง, ธนกร สิริสุคันธา, และปิยกนิฏฐ์ โชติวนิช. (2559). “ผลกระทบของกลยุทธ์การตลาดภายในความพึงพอใจในการทำงานและความผูกพันต่อองค์การที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลเอกชนไทย,” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 11(1) มกราคม-มิถุนายน, 155-171.
ชุติภา โอภาสานนท์. ก้าวสู่ความเป็นผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2543
ธนาคารกรุงไทย บริษัทมหาชนจำกัด. ฝ่ายวิจัยความเสี่ยงธุรกิจ สายงานบริหารความเสี่ยง, มิถุนายน 2554.
ธันยมัย เจียรกุล ณัฐพล พนมเลิศมงคล และสุทธินันทน์ พรหมสุวรรณ. "ศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจเครื่องปรุงรสไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน," 2557, วารสารธุรกิจปริทัศน์, 2557, 6(2), 55-74.
พงษ์สรรค์ ลีลาหงส์จุฑา และลักคณา วรศิลป์ชัย. "กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดต่างประเทศของผู้ประกอบการ SMEs," วารสารนักบริหาร, 2555, 32(4), 95-102.
รัฐนันท์ พงศ์วริทิธ์ธิร และภาคภูมิ ภัควภิาส. "แนวทางการพัฒนากลยุทธ์การตลาดของอาบน้ำแร่และภูมิปัญญาไทย เพื่อ ส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว: ดอยปู่หม่น," 2558, วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(สิงหาคม 2558), 14-23.
รุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์, ระพีพรรณ พิริยะกุล และนภาพร ขันธนภา. " ผลการดาเนินงานของธุรกิจและสมรรถนะของผู้ประกอบการกับขอบข่ายการแข่งขัน และศักยภาพองค์การ," วารสารเกษมบัณฑิต, 2559, 17(1), 1-21.
สดุดี วงศ์เกียรติขจร. งานวิจัยเกี่ยวกับอาเซียนจากสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา, สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา, 2555.
สุขจิตต์ ณ นคร, ชนินทร์ วิชชุลตา, ญาณกร โท้ประยูร และ เยาวลักษณ์ ชาวบ้านโพธิ์, "การพัฒนาความสามารถทางการค้า การลงทุนของผู้ประกอบการ SMEs กรุงเทพมหานคร ในบริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน," วารสารรัชต์ภาคย์, 2559, 10(19) 124-136.
อำพา แก้วกำกง . "โอกาสและช่องทางการค้าของ SMEs ไทยในตลาดกัมพูชา," วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 2555, 8(1), 95-113.
Amage, N. Rinthaisong, I. & Songsom, A. (2014). “Factors Influencing to Behavioral Competency for Competitiveness and Success of Thai - Malaysia Border Trade Entrepreneurs to Support AEC,” Journal of Management Research, 6(2) 221-231.
Chotivanich, P. (2014). “Service Quality, Satisfaction and Loyalty of Full Service Domestic Flight in Thailand,” The International Journal of Arts and Sciences (IJAS). 7(3), 161–169.
Kiumarsi, S., Jayaraman, K., Salmi Mohd Isa, S.M. & Varastegani, A. (2014). “Marketing strategies to improve the sales of bakery products of small-medium enterprise (SMEs) in Malaysia,” International Food Research Journal 21(6): 2101-2107.
Phorncharoen, I. (2016). “An OTOP E-Commerce System Development for Expanding the ASEAN Economic Community,” Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University. 6, 2(2016): 1-17.
Rifai, M., Indrihastuti, P., Sayekti, R.N.S., & Gunawan, C.I. (2016). Competitive Readiness from Indonesia’s Small and Medium Industry (SME) in Dealing with ASEAN Economic Community. International Journal of Advanced Research, Volume 4, Issue 4, 52-59.
Sirivanh, T. Chaikeaw, A. & Meta, M. (2013). “Growth of Small and Medium Enterprises in the Lao People’s Democratic Republic: A Structural Equation Modeling Study,” International Journal of Business and Social Science 4(2) February 214-219.
thai-aec.com. บทความและบทวิเคราะห์ AEC. มีนาคม 2555, (สืบค้นเมื่อ 23 ก.ย. 2556), www.thai-aec.com