วิเคราะห์การจัดการวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษา ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์

Main Article Content

ประภาพร ยางประยงค์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการของวิสาหกิจชุมชนท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ ในด้าน
การจัดการการผลิต การตลาด และจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค รวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจลงพื้นที่ การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม พบว่า 1) การจัดการ ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ สมาชิกเพียง 10 คน ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์หลายชนิด การผลิต มีการดำเนินงานเป็นระบบและมีแผน
การผลิตสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ มีมาตรฐานผ่านการรับรองจากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ค่าใช้จ่ายรวมเฉลี่ยของแต่ละโรงเรือนเท่ากับ 500 บาทต่อเดือน การตลาด
ในส่วนของช่องทางการจัดจำหน่าย เป็นการขายปลีกและขายส่ง และ 2) ผลการวิเคราะห์ SWOT analysis
โดยจุดแข็งคือ ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานและปราศจากสารพิษตกค้าง จุดอ่อนคือผลิตภัณฑ์มีช่วงอายุเก็บสั้น โอกาสคือ ความนิยมบริโภคผักเพิ่มขึ้น อุปสรรคคือ ลูกค้ามีจำกัดและมีจำนวนน้อย

Managerial Analysis of Small and Micro Community Enterprise: A Case Study of Tha Sa An Hydroponics

This paper examines the management, production, marketing, and strengths, weaknesses, opportunities, and threats of small and micro community enterprise, Tha Sa An, hydroponics. Surveying, in-depth interviewing, non-participatory observation and SWOT analysis had been applied. The findings are organized in two sections: (1) this hydroponics small and micro community enterprise applied sufficiency economy principles with an average of 10 staffs have produced many varieties of hydroponic vegetables. They had well managed and well-organized of production. The production’s plan had been set properly. Their products were very good quality, hygienic and high standard production ethics. They have got quality assurance certification “GAP”: Good Agricultural Practice, from the Ministry of Agriculture and Cooperatives of The Kingdom of Thailand. The average total production cost per month was about 500 Baht per month. For the sales and distribution, they are doing direct and wholesale; and (2) For SWOT analysis, we found clean and high standard of product with no pesticide residues, the products had a limitation of storage, although products were concern in the healthy situation, nevertheless a small target group of customer.

 

DOI: http://dx.doi.org/10.14456/becj.2016.28

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

ประภาพร ยางประยงค์. (2559). วิเคราะห์การจัดการวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษา ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 11(2), 25-32.