ภาษาและการสื่อสารของแฟนเพจ"ทูนหัวของบ่าว"
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาษาและรูปแบบการสื่อสารของแฟนเพจ “ทูนหัวของบ่าว” โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาจากข้อความและรูปภาพที่โพสต์ นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังทำการสัมภาษณ์เจาะลึกเจ้าของแฟนเพจ เพื่อนำมาประกอบการสรุปและอภิปรายผลการวิจัยครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลในเดือนมีนาคม 2559 โดยสุ่มเลือกศึกษา 26 โพสต์
ผลการวิจัยพบว่า ในแฟนเพจภาษาที่ใช้มักเข้าข่ายการบรรยายโวหารมากที่สุด ส่วนในการวิเคราะห์การใช้ภาษาภาพพจน์พบว่ามีการใช้นามนัยมากที่สุด รองลงมาเป็น บุคลาธิษฐาน อีกทั้งเจ้าของแฟนเพจมักนำเสนอตัวตนต่อสังคมในรูปแบบการสื่อสารด้านการแสดงความใส่ใจและความเป็นตัวเองมากที่สุด สำหรับการวิเคราะห์รูปภาพที่โพสต์ในแฟนเพจ ผู้วิจัยพบว่า รูปภาพส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นภาพลักษณ์หรือภาพที่มองเห็นมากที่สุด ยกตัวอย่างเช่น การใช้รูปภาพที่แสดงการกระทำ การแต่งกาย และความประพฤติของแมวมากที่สุด รองลงมาคือ ภาพที่เป็นลักษณะดัชนีที่แมวแสดงพฤติกรรมหรือลักษณะเฉพาะตัวที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงความสัมพันธ์กับอีกสิ่งหนึ่งซึ่งจะต้องอาศัยความเป็นเหตุเป็นผลจึงจะสามารถเข้าใจความหมายได้
Article Details
References
2. คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2550). การใช้ภาษาไทย 2 (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
3. ไทยรัฐออนไลน์. (2557). เมี้ยวววว! ทาสแมวอยู่ทางนี้! 'นัชญ์ ประสพสิน'...ทูนหัวของบ่าว. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2558, จาก http://www.thairath.co.th/content/413394
4. นันทวดี ทองปรอน. (2551). ปรัชญาชีวิตพอเพียงกับบทบาทประชาสังคมของนิตยสารพอเพียง. วิทยานิพนธ์ นศ.ม.,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
5. ปรมะ สตะเวทิน. (2538). หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
6. พิมพรรณ อินทรพิมล.(2548) .วิธีการสื่อสารของสถานีวิทยุและการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อการพัฒนาชุมชนบ้านจำรุง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง .วิทยานิพนธ์ นศ.ม.,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
7. ภาสกร จิตรใคร่ครวญ. (2553). เทคโนโลยีของสื่อใหม่และการนำเสนอตัวตนต่อสังคมกับพฤติกรรมการสื่อสารบนเครือข่าย สังคมออนไลน์. วิทยานิพนธ์ นศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
8. มนชนก มณเฑียรทอง และคณะ. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการกด Like และ Unlike ของ Facebook FanPage. วิทยานิพนธ์ บธ.ม., สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.
9. มาริสา ธีรตยาคีนันท์. (2555). รูปแบบและสารที่ใช้ในการสื่อสารผ่านสื่อสังคมของสินค้าและบริการในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ นศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
10. เยาวภา บุนนาค. (2554). การสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการผ่านเฟซบุ๊กของพนักงานบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด. วิทยานิพนธ์ นศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ
11. วารุณี พลบูรณ์. (2550). การใช้ภาษาไทย 2 (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
12. อรชุมา เก่งชน. (2545). การเคลื่อนไหวของกระแสสตรีนิยมยุคบุกเบิกที่ปรากฏในนิตยสาร. วิทยานิพนธ์ นศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
13. อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2554). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
14. อวยพร พานิชและคณะ. (2548). ภาษาและหลักการเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
15. Civikly (Ed.), Communicating in college classrooms: New directions of teaching and learning. San Francisco, CA: Jossey-Bass.
16. Kathleen A. Menzie. (2006). Building online relationships: relationship marketing and social presence as foundations for a university library blog. Doctoral Dissertation, Ph.D., University of Kansas, US.
17. Thurlow, C., Lengel, L., and Tomic, A. (2004) .Computer mediated communication: Social interaction and the Internet. Thousand Oaks, CA: Sage.
18. Tu, C.-H., and Mclsaac, M. (2002). The relationship of social presence and interaction in online classes. The American Journal of Distance Education, 16(3), 131-150.
Translated Thai References
1. Kessarin Rattanaphanthong. (2012). Essarin Rattanaphanthong content Analysis of Marketing Public Relations Message of Consumer Products on Facebook Fan Page. Master thesis, M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.
2. Lecturer, Department of Thai, Faculty of Liberal Arts, Thammasat University. (2007). Guideline for Thai language (6th ed.). Bangkok: Thammasat University.
3. Marisa Thiratayakinant. (2012). Marketing communications pattern and message for social media marketing communication of products and services in Thailand. Master Thesis M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.
4. Monchanok Monteianthong, and et al. (2011). The Factors affecting Like and Unlike of Facebook FanPage. Master Thesis Business Management, National Institute of Development Administration, Bangkok.
5. Nantawadee Tongpron. (2008). Self-Sufficient Philosophy and The civic journalism role of Thai Por-pieng Magazine. Master thesis, M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.
6. Onchuma Kengchon. (2002). The Early Movement of Feminism in Thai Magazines. Master Thesis M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.
7. Orawan Pilun-Owad. (2011). Communicative for Persuasions. Bangkok: Chulalongkorn University.
8. Parama Satawatin. (1995). Principles of communication arts. Bangkok: Parbpim Printing.
9. Pasakorn Jithkraikroun. (2010). New Media Technology, Social Presence and Communication Behavior on Social Network. Master Thesis M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.
10. Pimpan Intarapimon. (2005). Method of Communication of Community Radio Station and Participatory Communication of the People for Community Development Baan Jum Roong, Amphoe Klaeng, Rayong Province. Master Thesis M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.
11. Thairath Online. (2014). Kingdom of Tigers. Retrieved June 3, 2015, from http://www.thairath.co.th/content/413394.
12. Ūaiphō̜n Panich. (2005). Language and Communicative writing. Bangkok: Chulalongkorn University.
13. Warunee Polboon. (2007). Thai Usage 2 (6th ed.). Bangkok: Thammasat University.
14. Yaowapa Bunnag. (2011). Informal communication of aerothai employees through facebook. Master Thesis M.Com.Arts., Chulalongkorn University, Bangkok.