การพัฒนานวัตกรรมความรู้ด้วยกลยุทธ์การถ่ายโอนความรู้เพื่อปรับปรุงผลิตภาพสินค้าและบริการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีแนวคิดเพื่อพัฒนากลยุทธถายโอนความรูมาใชเพื่อถายทอดความรูในเรื่องการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินคา และบริการสรางสรรคในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่มรดกโลกดานวัฒนธรรมของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของการถายโอนความรูเพื่อปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินคาและบริการในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรม 2) เพื่อวิเคราะหการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินคาและบริการในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในปจจุบัน 3) เพื่อพัฒนากลยุทธการถายโอนความรูเพื่อปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินคาและบริการในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใน อนาคต โดยใชวิธีการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ผลการวิจัย พบวา 1) การถายโอนความรูเพื่อปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินคาและ บริการสรางสรรคในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในปจจุบันมีจุดแข็งคือ การมีองคความรูทองถิ่นทางดานวัฒนธรรมจํานวน มากที่เอื้อตอการพัฒนาตอยอดเปนสินคาและบริการสรางสรรค จุดออน คือ การขาดการเปดรับองคความรูจากภายนอกเพื่อนํามา พัฒนาสินคาและบริการสรางสรรค โอกาส คือ การมีพื้นที่มรดกโลกทางวัฒนธรรมในประเทศไทยที่มีนักทองเที่ยวจํานวนมากมา ทองเที่ยว ภาวะคุกคาม คือ การขาดแคลนแรงงานฝมือที่มีความชํานาญในการผลิตสินคาและใหบริการสรางสรรค 2) การถายโอน ความรูมีความสัมพันธกับผลิตภาพการผลิตสินคาและบริการในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยความรูที่เปนปจจัยสําคัญในการ ปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินคาและบริการสรางสรรคในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไดแก ความรูดานการผลิตสรางสรรค ความรูดานการออกแบบ และความรูดานการตลาด แตยังขาดกลยุทธการถายโอนความรูที่เหมาะสม 3) กลยุทธการถายโอนความรูที่ เหมาะสมคือ “กลยุทธการถายโอนความรูโดยใช APPRECIATE Model”
The Development of Innovative Knowledge by Knowledge Transfer Strategies for the Productivity Improvement of Creative Goods and Services in Cultural Tourism Industries in Thailand
The objective of this research was develop knowledge transfer strategies under creative economy concept to improve productivity of goods and service for entrepreneurs in cultural tourism industry in the World Cultural Heritage of Thailand. Specifically, the research attempted to 1) conduct SWOT (Strength, Weakness, Opportunity and Threat) analysis 2) study the productivity improvement of goods and services in cultural tourism industry, and 3) develop knowledge transfer strategies for the productivity improvement of the industry. Both quantitative and quality research were used and the findings are as follows: 1) from SWOT analysis, strength: Thailand has many local cultural knowledge for developing creative goods and services, weakness: lack of knowledge transfer process of necessary global knowledge for developing creative goods and services, opportunity: ithere are many attractive World Cultural Heritage, and threat: lack of knowledge worker for the industry; 2) Knowledge transfer relates with productivity improvement and knowledge (both local and global) is the key factor of productivity improvement of goods and services in cultural tourism industries under creative economy concept. Critical knowledge for the industry includes knowledge of creative production, creative design and creative market, but lack of the appropriate knowledge transfer strategies 3) appropriate knowledge transfer strategies for the productivity improvement of creative goods and services in cultural tourism industries in Thailand is participatory knowledge transfer strategy among entrepreneurs, workers, public sector, business sector and other important stakeholders. Discovered from this research, suitable tool of this strategy is APPRECIATE Model.