การเปรียบเทียบผลการพยากรณ์ของแบบจำลองความล้มเหลวทางการเงินของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลการพยากรณ์ของแบบจำลอง Altman
Z-Score แบบจำลองโลจิท แบบจำลองโพรบิท และแบบจำลองโทบิท ในการพยากรณ์ความล้มเหลวทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของบริษัทจดทะเบียนจำนวน
90 บริษัท ในช่วงปี 2555 ถึง 2560 ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองที่มีความสามารถในการพยากรณ์ความล้มเหลวทางการเงินถูกต้องและเหมาะสมมากที่สุดคือแบบจำลองโลจิท รองลงมาคือแบบจำลองโพรบิท
โดยแบบจำลอง Altman Z- Score มีความสามารถในการพยากรณ์ถูกต้องน้อยที่สุด อัตราส่วนทางการเงิน
ที่สามารถบ่งชี้ปัญหาความล้มเหลวทางการเงินได้ดีที่สุดด้วยแบบจำลองโทบิทซึ่งตัวแปรตามคือค่าความน่าจะเป็นที่จะเกิดปัญหาความล้มเหลวทางการเงินโดยกำหนดขีดจำกัดล่างเท่ากับ 0 คือ อัตราส่วนหนี้สินระยะยาว
ต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนกำไรสะสมต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม
คำสำคัญ: 1) แบบจำลองความล้มเหลวทางการเงิน 2) ความล้มเหลวทางการเงิน 3) โลจิท 4) โพรบิท 5) โทบิท
Article Details
References
2. Altman, E. I., Eom, Y. H. and Kim, D. W. (1995). Failure prediction: Evidence from Korea. Journal of International Financial Management and Accounting, 6(1), 230-249.
3. Churod, P. (2014). Predicting financial failure of companies listed on the stock exchange of Thailand. Master thesis, M.Acc., Kasetsart University, Bangkok.
4. Koowattanatianchai, N. (2014). A simple approach to the relation between credit ratings and probabilities of bankruptcy: Evidence from Thailand. Retrieved September 6, 2017, from www.sec.or.th/TH/Documents/SEC_WPF/sec_wpf_03_01.pdf
5. Namkong, A. (Narrator). (August 18, 2018). A comparison of prediction results for financial failure models of companies listed on the Stock Exchange of Thailand. In The Fifth National Conference on Management Sciences (pp. 41-50). Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University.
6. Nammaung, A. (2007). Indicators of financial failure: A case of companies listed on the stock exchange of Thailand. Master thesis, M.Acc., Kasetsart University, Bangkok.
7. Vanichbuncha, K. (2017). Advanced statistical analysis with SPSS for windows (12nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
8. Ohlson, J. (1980). Financial ratios and the probabilistic prediction of bankruptcy. Journal of Accounting Research, 18(1), 109-131.
9. Zmijewski, M. (1984). Methodological issues related to the estimation of financial distress prediction models. Journal of Accounting Research, 22, 59-82.