การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้แต่ง

  • สิริดนย์ แจ้งโห้
  • สิริมา ป้วนป้อม
  • อมลณัฐ หุ่นธานี
  • สำราญ มีแจ้ง

คำสำคัญ:

การอ่านภาษาอังกฤษ, ปัญหาการอ่านภาษาอังกฤษ, ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษ, นิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นิสิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2564 จำนวน 65 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิต โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านทัศนคติจากตัวนิสิต ด้านสิ่งแวดล้อมทางบ้าน และด้านการเรียน     การสอน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษมากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านทัศนคติของนิสิต ปัจจัยด้านการเรียนการสอน และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมทางบ้าน ตามลำดับ

References

กฤชเชาว์ นันทสุดแสวง. (2563). ทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับต่ำ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, (7)1, 199-200. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/download/182719/16 3741/

จินตนา อินทร์แหยม. (2562). อ่านให้เป็น เห็นคุณค่า สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพแน่นอน สืบค้นจาก https://news.npru.ac.th/u_news/detail.php?new

ชัยวัฒน์ บวรวัฒนเศรษฐ์. (2557). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. สืบค้นจาก http://www.journal.rmutsb.ac.th/th/data_news/file/rmutsb-journal-20151217-pdf-671.pdf

ณัฏฐิณี ทินวงษ์. (2554). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). สืบค้น จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/12904/fulltext.pdf

มนัสวี ดวงลอย. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, สืบค้นจาก https://ph02.tci-thaijo.org/ index.php/jtermutt/article/view/182833

สาวิตรี บุญนุชิต. (2562). ข้อดีของการอ่านหนังสือภาษาอังกฤษ. สืบค้นจาก http://lc.nstru.ac.th/th/news/archive/md_content/view/614.html

อมรรัตน์ ชำนาญรักษา. (2555). ความหมายของการอ่าน. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/madoobook/home/khwam-hmay-khxng-kar-xan

British Council. (2564). ทำไมการอ่านภาษาอังกฤษของคุณจึงช้าและยากจัง?. สืบค้นจาก https://www.britishcouncil.or.th/english/tips/why-reading-english-is-hard

Effortlessenglishclub. (2560). Importance of English Retrieved from https://effortlessenglishclub.com/importance-of-english.

Jabbar, A., Mahmood, D.K., & Warraich, D.N.F. (2021). Influence of Family Factors on Children Reading Habits: A Review of Literature.

Elementary Education Online(20), 10.17051.doi, Retrieved from https://www.bibliomed.org/mnsfulltext/218/218-1620106512.Pdf?1633157574

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-29