ความสําคัญของซุ้มเรือนแก้วหลวงพ่อพระพุทธชินราช

ผู้แต่ง

  • ศราวุธ สุดงูเหลือม

คำสำคัญ:

ความสำคัญ, ซุ้มเรือนแก้ว, หลวงพ่อพระพุทธชินราช

บทคัดย่อ

การศึกษาความสำคัญของซุ้มเรือนแก้วหลวงพ่อพระพุทธชินราชครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้า ตลอดจนวิเคราะห์ลักษณะสำคัญของซุ้มเรือนแก้วซึ่งเป็นองค์ประกอบของพระพุทธชินราช พระพุทธประติมากรรมที่ประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ผู้ศึกษาดำเนินการศึกษาใน 2 ประเด็น ได้แก่ 1) การศึกษาที่มาและรายละเอียดเกี่ยวกับซุ้มเรือนแก้ว และ 2) การศึกษาวิเคราะห์ตำนานการสร้างองค์ซุ้มเรือนแก้วเพื่อเปรียบเทียบตำนานแนววิวัฒนาการนิยมและหน้าที่นิยม ผลการศึกษาพบว่าซุ้มเรือนแก้วมีลักษณะเฉพาะองค์ซึ่งเป็นการสะท้อนคติความเชื่อทั้งคติความเชื่อกระแสเดิมที่ยังมิได้มีการรับอิทธิพลความเชื่อทางพระพุทธศาสนา และคติความเชื่อกระแสใหม่ที่ได้รับอิทธิพลความเชื่อทางด้านพระพุทธศาสนา

References

กรมการศาสนา, วันดี จันทร์ประดิษฐ์ และสุวรรณ กลิ่นพงศ์. (2558). พิธีกรรมและประเพณี. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.

จุฑารัตน์ เกตุปาน. (2547, กรกฎาคม - ธันวาคม). พระพุทธชินราช. วารสารมนุษศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(2), น. 10 – 13.

นพดล อินทับทิม. (2553). พระพุทธรูปหมวดพระพุทธชินราช แนวทางการศึกษาและจัดกลุ่มรูปแบบ. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2550). กาลครั้งหนึ่ง : ว่าด้วยตำนานกับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปัญญา ใช้บางยาง. (2550). 75 อุบาสก : พุทธสาวกในสมัยพุทธกาล. กรุงเทพฯ: สถาบันบันลือธรรม.

พิริยะ ไกรฤกษ์ และพิชญา สุ่มจินดา. (2549). พระพุทธชินราช : การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ศิลปะและการศึกษาภาพลักษณ์ที่สร้างขึ้นโดยชนชั้นนำสยามสู่สามัญชน. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เพ็ญสุภา สุขคตะ. (2560). “สิงห์มอม”ไม่เคยปรากฏในวัฒนธรรมล้านนาโบราณ แล้วมาจากไหน?. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/culture/article_19988

ราม วัชรประดิษฐ์. (ม.ป.ป.). ซุ้มเรือนแก้ว พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ. สืบค้นจาก http://www.itti-patihan.com

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2551). พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ. (2564). ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ : ตัว “เหรา” มาจากไหน?. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2518). ตำนานพระพุทธเจดีย์. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. (2554). สมุดภาพปฐมสมโพธิกถา วรรณคดี พระพุทธศาสนาภาคไทย คัมภีร์แสดงเรื่องราวของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

สมโภชพระพุทธชินราชสองร้อยสิบหกปี – 660 ปี. (2560). ไม่ปรากฏชื่อเรื่อง. สืบค้นจาก https://www.facebook.com.

สินรี จ้อยรักษา. (2548). ตัวมอม: ที่มาของรูปแบบหน้าที่ในงานประดับวัดในเมืองเชียงใหม่. (รายงานปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

เอกพงศ์ ประดิษฐ์พงศ์. (2554). มกร – มอมสัตว์จินตนาการเฝ้าพุทธสถาน: ท่องไปในแดนธรรม. สืบค้นจาก http://www.komchadluek.net/news/detail/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-24