การวิเคราะห์โครงสร้างคำเรียกอาชีพในภาษามือไทยเพื่อการเป็นล่ามภาษามือ
คำสำคัญ:
คำเรียกอาชีพ ภาษามือไทย วิเคราะห์โครงสร้างภาษามือไทย คนหูหนวก ล่ามภาษามือบทคัดย่อ
การแปลของล่ามภาษามือเป็นสิ่งที่ท้าทาย เนื่องจากภาษามือในประเทศไทยที่คนหูหนวกใช้มีความหลากหลายของภาษามือท้องถิ่นและไม่มีคำศัพท์ภาษามือไทยเฉพาะด้าน อีกทั้งยังไม่เพียงพอเพราะมีการเกิดคำศัพท์ใหม่ ๆ ขึ้นทุกวัน ผู้เขียนจึงมีความจำเป็นที่ต้องศึกษาการวิเคราะห์โครงสร้างคำเรียกอาชีพในภาษามือไทย เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างคำศัพท์ภาษามือไทยกลุ่มอาชีพที่ไม่มีการบันทึกในหนังสือหรือในพจนานุกรม ภาษามือไทย ผู้เขียนได้วิเคราะห์แนวทางการสร้างคำเรียกอาชีพและจัดกลุ่มได้ 4 แนวทาง ดังนี้ (1) ใช้ท่ามือเลียนแบบพฤติกรรมการทำงาน (2) ใช้เครื่องแต่งกาย (3) ใช้ตราสัญลักษณ์ อุปกรณ์ และยานพาหนะในการประกอบอาชีพ (4) ใช้การประสมคำ การมีแนวทางการสร้างคำเรียกอาชีพเปรียบเป็นเข็มทิศนำทางการแปลของล่ามภาษามือส่งผลให้การแปลมีคุณภาพช่วยให้คนหูหนวกได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์
References
จิระพรรษ์ บุณยเกียรติ และคณะ. (2540). ศาสตร์การแปล รวมบทความเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เจนจิรา แก้วประสิทธิ์. (2560). โลกของคนหูหนวก: ภาษากับชีวิตประจำวัน (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัย ศิลปากร).
ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล และคณะ. (2557). การศึกษาสถานการณ์และปัญหาการปฏิบัติงานของล่ามภาษามือไทยในการจัดการเรียนการสอนนักศึกษาหูหนวก : กรณีศึกษาวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารวิทยาลัยราชสุดา. 11 14 ( มกราคม - ธันวาคม 2558), 4-23.
นันทนา วงษ์ไทย. (2562). อรรถศาสตร์ปริชานเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ. บริษัท เวิร์ค ออล พริ๊นท์ จำกัด.
พวงพกา จันทร์ยาวงศ์, สิรินทรา ฤทธิเดช, และ มุกดา กุดดู่เดิม. (2564). การจำแนกท่ามือกริยาในภาษามือไทย. สืบสาน สร้างสรรค์ ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น. โครงการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติด้านศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 (น. 218-228). สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ราษฎร์ บุญญา. (2551). ภาษามือ : ภาษาของคนหูหนวก. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 4(1), 77-94.
วรนาถ วิมลเฉลา. (2539). คู่มือสอนแปล. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. 2544. หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. พิมพ์ครั้งที่ 1. บพิธการพิมพ์. กรุงเทพฯ. 102 หน้า.
สุขสิริ ด่านธนวานิช. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการสร้างสัมพันธสารเรื่องเล่ากับกระบวนการคิด
ของคนหูหนวกในการเล่าเรื่องให้ผู้อื่นทราบ. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 1(1)
อภิลักษณ์ ธรรมทวธีิกุล และ จิรภา นิวาตพันธุ์. (2551). พยางค์และคำในภาษามือไทย. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนา คนพิการ, 4(1), 95-113.
Beal, J. S., & Faniel, K. (2019). Hearing l2 sign language learners. Sign Language Studies, 19(2), 204-224.
Brunson, J., Roy, C., & Stone, C. (2020). Shaping our academic future.
Mantovan, L., Giustolisi, B., & Panzeri, F. (2019). Signing something while meaning its opposite: The expression of irony in Italian Sign Language (LIS). Journal of Pragmatics, 142, 47-61.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Mookda Koodduderm
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล