นวัตกรรมการบริการของโรงแรมเชิงสุขภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวสูงวัยชาวไทยในกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • บุษบา อู่อรุณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

นวัตกรรมการบริการ โรงแรมสุขภาพ นักท่องเที่ยวสูงวัย

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการนวัตกรรมการบริการในโรงแรมเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทย 2) เพื่อศึกษานวัตกรรมการบริการสำหรับผู้สูงอายุภายในโรงแรมเชิงสุขภาพ และ3)เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมการบริการของโรงแรมเชิงสุขภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุชาวไทยในกรุงเทพมหานคร บทความวิจัยนี้เป็นบทความเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth interview)

          ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการนวัตกรรมการบริการของโรงแรมเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวสูงวัยชาวไทย มีความต้องการด้านส่วนประสมทางการตลาดบริการ อาหารเพื่อสุขภาพ พนักงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและต้องมีใบประกาศนียบัตรเท่านั้น ต้องการโปรแกรมการดูแลสุขภาพ แพคเกจสปา ต้องการพื้นที่ใช้สอยสำหรับทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น โยคะ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้โรงแรมเชิงสุขภาพสามารถนำไปพัฒนาให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้

 

References

ภาษาไทย
กรมกิจการผู้สูงอายุ.(2564). เทรนด์ท่องเที่ยวที่มาแรงที่สุดในปี 2020 .สืบค้นเมื่อ
28/10/2564. http://www.dop.go.th/th/gallery/1/3078
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2562). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical-tourism) ขยายตัว
ต่อเนื่องในปี 2561.สืบค้นเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562, จาก
https://www.kasikornbank.com/th/personal, 24 กุมภาพันธ์ 2564.
ดาวศุกร์ บุญญะศานต์ และ ชงสุดา โตท่าโรง. (2563). นวัตกรรมการบริการกับการสร้าง
คุณค่าในธุรกิจโรงแรม,NKRAFA Journal of Humanities and Social
Sciences, Year 8 December 2020.
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม(2564-2566) : ธุรกิจโรงแรม 24 กุมภาพันธ์ 2564.
บุษบา อู่อรุณ. ภัทรพล ชุ่มมี และปรีชา คำมาดี. (2563). กลยุทธ์การสร้างประสบการณ์
ให้กับลูกค้าของธุรกิจโรงแรมระดับ 4- 5 ดาว ในภาคกลางและภาคตะวันออกของ
ประเทศไทย.วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์,ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน, 91-100.
บุษบา อู่อรุณ. 2558. กลยุทธการตลาดที่มีผลตอความพึงพอใจของนักทองเที่ยวชาวจีน
กลุมผูสูงวัยที่ใชบริการทองเที่ยวเชิงสงเสริมสุขภาพในประเทศไทย วารสารวิชาการเซาธอีสทบางกอก ปที่ 4 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2561, 46-64.
ผู้จัดการออนไลน์.2560.ไทยคว้าอันดับสามประเทศทำรายได้จากการท่องเที่ยวมากที่สุดใน
โลก.แหล่งที่มา:http://today.line/me/th/pc/article (สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2562).
มานิศา ผิวจันทร์ และ อนัญญา รัตนประเสริฐ .(2562). แนวโน้มธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ต
เพื่อสุขภาพ.งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านการท่องเที่ยวกับมนุษย์ศาสตร์ ครั้ง
ที่ 19-20 ธันวาคม.2562.
รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2556 โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย
(มส.ผส.).
ภาษาอังกฤษ
Cbre.(2021).โรงแรมเพื่อสุขภาพยังคงเป็นที่ต้องการในปี 2564. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม
2564 .From https://www.cbre.co.th/th/news/demand-for-wellness-
accommodation-continues-into-2021.
Department of Tourism, (2014).S Global Wellness Institute (2018) Global Wellness Tourism Economy. November 2018.แผนแม่บท
ยุทธศาสตร์ชาติ การท่องเที่ยว .2564. สืบค้นเมื่อ 28/10/2564 ที่
http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2021/01/06_NS_05.pdftandard of tourism service. Bangkok:
Ministry of Tourism and Sport. Department of Health Service Support (2016).Summary report of Thailand’s Development policy as an internationals health center (Medical Hub). Bangkok: Ministry of Public Health.
Global Wellness Institute (2018) Global Wellness Tourism Economy.
November 2018.แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ การท่องเที่ยว .2564. สืบค้นเมื่อ 28/10/2564.จาก
http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2021/01/06_NS_05.pdf
Mueller, H., & Kaufmann, E. L. (2001). Wellness tourism: Market analysis of a
Special health tourism segment and implications for the hotel industry. Journal of Vacation.
Susaraporn Tangtenglam, Ariya Pongpanich and Chalongsri
Pimonsompong.(2021). The Need for Hotel Elderly’s in Thailand. International Journal of Arts and Social Science, Volume 4 Issue 3, May-June 2021.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31