Relationship between Consumer’s Motivation and Hand Tattoo Behavior

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและพฤติกรรมการสักลายมือของผู้บริโภค

ผู้แต่ง

  • Somchai Chawalitnaet คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

Keywords:      Motivation, Consumer behavior, Hand Tattoo, Survey research

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจเบื้องต้น (Exploratory survey research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับพฤติกรรมการสักลายมือของผู้บริโภค โดยใช้แบบสอบถามที่ให้ผู้ตอบเป็นผู้กรอกข้อมูลด้วยตนเองในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุระหว่าง 27-44 ปี จำนวน 95 คน เป็นผู้ที่เคยผ่านการสักลายมือมาก่อน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับแรงจูงใจภายในที่สูงกว่าแรงจูงใจภายนอกด้านปัจจัยสภาพแวดล้อม (ค่าเฉลี่ยรวม 4.41 และ 3.22 ตามลำดับ) อีกทั้งแรงจูงใจโดยรวม แรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายนอกด้านปัจจัยสภาพแวดล้อม และแรงจูงใจภายนอกด้านปัจจัยสื่อมวลชนมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการสักลายมือของผู้บริโภค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งหมด

References

กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2525). พระไตรปิฎก ฉบับหลวง ภาษาไทย เล่มที่ 25. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่17. ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
กันยพัชร์ วิชญชัยสิทธิ์. (2561). กระบวนการตัดสินใจทำศลัยกรรมเสริมความงามของผู้บริโภค. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Google trends. (2564, เมษายน 5). แหล่งที่มา: https://trends.google.co.th/trends/explore? date=2020-12-31%202021-05-23&geo=TH-10&q=สัก%20ลายมือ%20เศรษฐี
คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. (2535). ธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ ฉบับมาตรฐาน ชั้นตรี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์.
ชลพรรษ ดวงนภา. (2553). รอยสัก: จากความเชื่อ...สูแฟชั่น. ตราด: สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดตราด.
ถอดกลยุทธ์ “ไลฟ์โค้ชยุคเศรษฐกิจป่วย” ขายแบงก์ปลอม-อ้างพลังจักรวาล!. (2563, 24 พฤศจิกายน). ผู้จัดการออนไลน์. แหล่งที่มา: https://mgronline.com/live/detail/9630000121101
ธัญชนก สุขแสง. (2556). ค่านิยมและอิทธิพลจากบุคคลที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจศัลยกรรมความงาม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ธัญชนกภรณ์ โตชมบุญ. (2558). ปัจจัยด้านแรงจูงใจที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจในการประมูลสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บัญชา รัศมี. (2548). ปัจจัยในการเลือกซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในเขต อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
Blossom EP4 PR Transformers. (2561). ถอดรหัส ล้วงลึกพฤติกรรมผู้บริโภคบนโซเชียลมีเดีย. วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. แหล่งที่มา: https://km.li.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2018/ไฟล์-ช่วงบ่าย-Digital_Mkt_Consumerinsight-2.pdf
ประภาวดี ธานีรนานนท์. (2540) . การเปิดรับข่าวสาร การจดจำสาร และการเลียนแบบพฤติกรรมต่อต้านยาเสพติดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโครงการป้องกันยาเสพติดจัสท์เซย์โน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยมาศ กังวานกิจไพศาล. (2550) การเสี่ยงเซียมซี : พิธีกรรมแห่งการสื่อสารความหมาย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. แหล่งที่มา https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail? Resolve_DOI=10.14457/TU.the.2007.667
ผิวผอง กันทรพิทักษ. (2535). การสักลายอีสาน: ศึกษาเฉพาะกรณีบานศรีสุข ตำบลศรีสุข อำเภอกันทร์วิชัยจังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พจมาน นิตย์ใหม่. (2550). รอยสัก: การสร้างอัตลักษณ์ที่ปรากฏบนเรือนร่างของตน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รัฐกานต์ กัณพิพัฒน์. (2557). พฤติกรรมเลียนแบบกับค่านิยมการสักของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
ฤทัย เตชะบูรณเทพาภรณ์. (2554). แรงจูงใจและปัจจัยทางการตลาดบนเฟซบุ๊ก (Facebook) ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วรรณนิภา ชวนชม. (2553). ความเชื่อเรื่องการสักยันต์ห้าแถวหนุนดวง: ศึกษากรณีสำนักสักยันต์อาจารย์หนูกันภัย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณศิริ สิทธินิสัยสุข. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของนิสิตระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
วันชัย สุวรรณภูมิ. (2550). สาเหตุและผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากการสักร่างกายของผู้ต้องขังเรือนจำกลางลพบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏไลยอลงกรณ์.
สักลายมือเศรษฐี พลิกชีวิตเปลี่ยนชะตา จากตกอับเป็นรวยปังจับเงินล้าน? (2563, 19 ธันวาคม). ข่าวสดออนไลน์. แหล่งที่มา: https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_5561696
สุขสันต์ กมลสันติโรจน์. (2548). การสื่อสารและการรับรู้ความหมายของรอยสักในสังคมไทยปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุธิดา แซ่อึ้ง. (2558). การสื่อสารความหมายผ่านรอยสักของวัยรุ่นไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุลักษณ์ ศรีบุรี และทวีวงศ์ ศรีบุรี. (2530). ลายสักที่พบในภาคกลาง ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อดุลย์ จาตุรงคกุล และดลยา จาตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Adams, J. (2009). Marked difference: Tattooing and its association with deviance in the United States. Deviant Behavior, 30(3), 266-292.
Ajzen, I., & Fishbein, M. (1975). Belief, attitude, intention, and behavior: An introduction to theory and research. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs. NJ: Prentice-Hall.
Bower, G. H. (1975). Cognitive psychology: An introduction. In W. K. Estes (Ed.), Handbook of learning and cognition (pp. 25-80). Hillsdale. NJ: Erlbaum.
Greenough, W. T., Black, J. E., & Wallace, C. S. (1987). Experience and brain development. Child Development, 58, 539-559.
Hawkins, D., & Mothersbaugh, D. (2013). Consumer behavior: Building marketing strategy, (12th ed.). New York: McGraw-Hill Irwin.
McClellan, D. C. (1962). Business drive and national achievement. New York: D. Van Nostrand.
Neisser, U. (1976). Cognition and reality: Principles and implications of cognitive psychology. San Francisco, CA: Freeman.
Hasbullah N., Osman A., Abdullah S., Salahuddin S. N., Ramlee N. F. and Soha H. M. (2016). The relationship of attitude, subjective norm and website usability on consumer intention to purchase online: An evidence of Malaysian youth. Procedia Economics and Finance, 35, 493-502.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). Marketing management (13th ed). Englewood Cliffs, NJ: Pearson Prentice Hall.
Mei, O., J., Ling, K., C., & Piew, T., H., (2012). The antecedents of green purchase intention among Malaysian consumers. Asian Social Science, 8(13), 248-363.
Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Consumer behavior. (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson/Prentice Hall.
Solomon, M. R. (2018). Consumer behavior: buying, having, and being. (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-18