การเรียนรู้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศด้วยตนเอง: กรณีศึกษานักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยเอกชนไทย
คำสำคัญ:
นักศึกษาจีน, ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, การเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมและการรับรู้การเรียนรู้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศด้วยตนเอง :กรณีศึกษานักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยเอกชนไทย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 169 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการเรียนรู้และการรับรู้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศด้วยตนเองของนักศึกษาจีนโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.29 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.78) เรียงลำดับดังนี้ ด้านแรงจูงใจในการเรียนรู้ ด้านความสามารถในการเรียนรู้ ด้านความมั่นใจในการเรียนรู้ ด้านกลยุทธ์ในการเรียนรู้ และด้านการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม – วัฒนธรรมในการเรียนรู้ จากการสัมภาษณ์นักศึกษาจีนจำนวน 17 คน พบว่าการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองของนักศึกษาจีน มีหลายรูปแบบและสอดคล้องกับผลที่ได้จากแบบสอบถาม ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ในการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเองและอาจารย์ผู้สอนที่จะนำไปใช้จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง
References
ศิริเพ็ญ ทฤษณาวดี. (2560). ฝ่ากำแพงเมืองจีน. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2562, จาก www.kroo
bannok.com
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). สถิติอุดมศึกษา.
สืบค้น เมื่อ 8 ตุลาคม 2563, จาก mua. www.mhesi.go.th.
สินีนาศ สร้อยคีรีและติน ปรัชญพฤทธิ์. (2550). ยุทธศาตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). วารสารวิจัย มสด.3, 82-94.
สุมิตรา สุรรัตน์เดชา และชไมภัค เตชัสอนันต์ (2559). การสร้างสรรค์วัฒนธรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยผ่านการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและผู้สอน. ใน แนวทางการสร้างสรรค์วัฒนธรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยผ่านการมีส่วนร่วมของผู้เรียนผู้สอน ผู้บริหารการศึกษา ครอบครัวและชุมชน. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล (Co-authored Book Chapter 2016: Creating an English Language Culture for Learners through the Involvement of Learners and Teachers)
อรุณี วิริยะจิตราและสิงหนาท น้อมเนียน. (2559). แนวทางการสร้างสรรค์วัฒนธรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยผ่านการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและผู้สอน ผู้บริหารการศึกษาครอบครัวและชุมชน. นครปฐม : บริษัท พริ้นเทอรี่ จำกัด.
ภาษาอังกฤษ
Bandura. (1986). A social Foundation of thought and action. A Social Cognitive Theory. N. J. :
Prentice-Hall.
Benson, P. & Voller, P. (1997). Autonomy and Independence in Language Learning. London. Longman.
Boonma, N.& Swatevacharkul, R. (2020). The effect of autonomous learning process on
learner autonomy of English public speaking students. Indonesian Journal of
Appliced Linguistics, 10(1), 194. Retrieved from https://ejournal.upi.edu/index.php
/IJAL/article/view/25037.
Crystal, D. (1997). English as a global Language. Cambridge : Cambridge University Press.
Dörnyei, Z. (2001). Motivational strategies in the language classroom. Cambridge: Cambridge U. Press.
Littlewood, W. (1996). Communicative language teaching : An introduction. Cambridge: Cambridge University Press.
Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Journal Psychology Review, 50, 370-396.
Oxford, R. L (2003). Language learning styles and strategies : Concepts and relationships
International. Review of Applied Linguistic in Language Teaching Journal, 41(4),271- 278.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล