คุณสมบัติของผู้นำกับการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

ผู้แต่ง

  • วีระยุทธ งามจิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

คำสำคัญ: บทบาท, ผู้นำ, นโยบายสาธารณะ, การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และนำเสนอนวัตกรรมเพื่อให้ผู้นำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติด้วยการนำทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะมาใช้ในการอธิบาย ผลการศึกษา พบว่า การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้ประสบความสำเร็จ ผู้นำต้องมีความเข้าใจ รู้บทบาทและสามารถจัดการปัญหาได้ โดยผู้เขียนได้นำเสนอหลักการ SUPREME MODEL ได้แก่ 1) Sacrifice คือ ความเสียสละในการทำงาน 2) Understand คือ ความเข้าใจในนโยบายอย่างลึกซึ้ง 3) Participation  คือ การให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการทำงาน 4) Ethical คือ การนำเอาหลักจริยธรรมมาใช้ในการทำงาน 5) Management คือ การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบให้เกิดประสิทธิภาพ 6) Enthusiasm คือ การกระตือรือร้นในการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาหรืออำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมบทบาทของผู้นำในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

คำสำคัญ: บทบาท, ผู้นำ, นโยบายสาธารณะ, การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

References

ภาษาไทย
กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
ชวลิต หมื่นนุช. (2535). อิทธิพลของภาวะผู้นำของคณบดีที่มีต่อประสิทธิผลของการบริหารงานวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).
ธนา มณีพฤกษ์. (2561). ความล้มเหลวของการนำนโยบายไปปฏิบัติ กรณีศึกษา นโยบายการสร้างงานในเมืองโอ๊คแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (รายงานการวิจัย). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
เนตร์พัฌณา ยาวิราช. (2546). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทเซ็ทรัลเอ็กซ์เพรส จำกัด.
ประพนธ์ ผาสุกยืด. (2541). ทางเลือก ทางรอด. กรุงเทพฯ: เอเอาร์ อินฟอร์เมชั่น แอนด์ พับบลิเคชั่น.
ประณยา ชัยรังษี. (2556). การนำนโยบายการพัฒนาสังคมไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 11(2), น. 138-150.
รังสรรค์ ตันเจริญ. (2534). รูปแบบภาวะผู้นำและขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษาข้าราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (สารนิพนธ์มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
วรเดช จันทร์ศร. (2554). การนำนโยบายไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: กราฟิคฟอร์แมท (ไทยแลนด์).
วรรณา หวันมาแซะ. (2555). ปัจจัยด้านนโยบาย สมรรถนะองค์การ และภาวะผู้นำ ที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ไปปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วรางคณา กาญจนพาที. (2556). ภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์กร: กรณีศึกษา ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2545). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและปฏิบัติ. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย.
สัมมา รธนิธย์. (2556). ภาวะผู้นำของผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
สถาพร เริงธรรม. (2560). นโยบายสาธารณะของประชาชน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สถาพร เริงธรรม. (2561). ประมวลเอกสารประกอบการสอน รายวิชา HS 411 101 รัฐประศาสนศาสตร์ขั้นแนะนำ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สัญญา เคณาภูมิและบุรฉัตร จันทร์แดง. (2562). ตัวแบบทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 3(1), น. 95-113.

ภาษาอังกฤษ
Dye,T. R. (1984). Understanding Public Policy. Boston: Mass.
Edward, George C. III and Sharkansky, Ira. (1978). The Policy Predicament: Making
and Implementation Public Policy. San Francisco: W.H. Freeman and Company.
Hofferbert, R.I. (1974). The Study of Public Policy. New York: The Bobbs-Merrill.
Maxwell, J.C. (2002). Leadership 101: What Every Leader Needs to Know. Scotland: Thomas nelson publish.
Richards, D., & Engle, S. (1986). After the vision: Suggestions to corporate visionaries and vision champions. In J. D. Adams (Ed.), Transforming leadership. Alexandria, VA: Miles River.

Website
นพดล เจริญทรัพยานันต์. (2562). ลักษณะของผู้นำที่ดี 14 ประการ. สืบค้น 18 กันยายน
2563, จาก https://www.toward-goal.com/contents/ลักษณะของผู้นำที่ดี-14/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29