การศึกษาอิทธิพลของการจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว ที่มีต่อคุณภาพการบริการในการท่องเที่ยวอุทยาน ประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยมีเพศและอายุเป็นตัวแปรกำกับ

ผู้แต่ง

  • สิริวดี ไทยสมัคร สำนักเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ขวัญกมล ดอนขวา สำนักเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ชนิศา มณีรัตนรุ่งโรจน์ สำนักเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย, โลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว, คุณภาพการบริการของแหล่งท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว ที่มีต่อคุณภาพการบริการของนักท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยมีปัจจัยด้านเพศ และอายุ เป็นตัวแปรกำกับ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน โดยใช้วีธีการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบ่งกลุ่ม (Cluster random sampling) และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมานจากการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณเชิงชั้น (Hierarchical Regression Analysis) พบว่า ปัจจัยโลจิสติกส์การท่องเที่ยวทุกด้านอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.00) ปัจจัยคุณภาพการใช้บริการเชิงประวัติศาสตร์ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.89) นอกจากนี้เพศหญิงให้ความสำคัญกับการใช้จ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการท่องเที่ยวและข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวที่มีต่อคุณภาพการบริการมากกว่าเพศชาย นอกจากนี้ผู้ที่อยู่ในช่วงอายุ 50 - 59 ปีจะให้ความสำคัญกับการไหลทางด้านการเงิน (Financial Flow) ที่มีต่อคุณภาพการบริการแหล่งท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์พิมายมากกว่าช่วงอายุอื่น ๆ

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). ทิศทางการตลาดการท่องเที่ยวปี 2562 ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.mots.go.th/content.php? nid=10572&filename=index

กรมศิลปากร. (2561). จำนวนนักท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย. [ออนไลน์] ได้จาก: https://mis.finearts.go.th/Visitor.aspx?rs=1

คมสัน สุริยะ. (2551). กรอบแนวคิดโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว. [ออนไลน์] ได้จาก: www.tourismlogistics.com

ชิตพงษ์ อัยสานนท์. (2559). มองรอบทิศคิดอย่าง Supply Chain โลจิสติกส์ท่องเที่ยว (Tourism Logistics) ของบ้านเรา…ถึงไหนแล้ว. Industrial Technology Review. [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=1423&section =5&issues=81

ณภัทร ทิพย์ศรี ขจีโฉม เจียตระกูล และคณะ. (2558). การจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยวของธุรกิจนำเที่ยวในจังหวัดเชียงราย. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. 10(2): 60-70.

มนตรี พิริยะกุล. (2558). ตัวแปรกำกับและตัวแปรคั่นกลางในตัวแบบสมการโครงสร้าง. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. 11(3): 83-95.

Frochot, I., & Hughes, H. (2000). “HISTOQUAL: The development of a historic houses assessment Scale”. Tourism Management. 21: 157-167.

Frochot, I. (2004). “An investigation into the influence of the benefits sought by visitors on their quality evaluation of historic houses' service provision”. Journal of Vacation Marketing; London. 10(3): 223-237.

Hawkins, J. (2013). ‘What better excuse for a real adventure’: History, Memory and Tourism on the Kokoda Trail. Public History Review. 20: 1–23.

Karatepe, O. M. (2011). “Service Quality, Customer Satisfaction and Loyalty: The Moderating Role of Gender”. Journal of Business Economics and Management. 12(2): 278–300.

Kim, H., Woo, E., and Uysal, M. (2015). “Tourism experience and quality of life among elderly tourists”. Tourism Management. 46: 465-476.

Kwok, S. Y., Jusoh, A. and Khalifah, Z. (2016). “The influence of Service Quality on Satisfaction:Does gender really matter?”. Intangible Capital. 12(2): 444-461.

Markovic, S., Raspor S., and Komšic, J. (2013). “Museum Service Quality Measurement Using The Histoqual Model”. Tourism in Southern and Eastern Europe. 201-216.

Parasuraman, A., Zeithaml, V.A., and Berry, L.L. (1988). SERVQUAL: A Multiple-Item Scale for Measuring Consumer Perceptions of Service Quality. Journal of Retailing. 64(1): 12-40.

Phillips, W. J., Wolfe, K., Hodur, N., & Leistritz, F. L. (2013). Tourist Word of Mouth and Revisit Intentions to Rural Tourism Destinations: a Case of North Dakota, USA. International Journal of Tourism Research. 15: 93-104.

Rovinelli, R. J., and Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research. 2: 49-60.

Tan, G. Wei-Han and Ooi, Keng-Boon. (2018). “Gender and age: Do they really moderate mobile tourism shopping behavior?”. Telematics and Informatics. 35: 1617–1642.

Tavakol, M. and Dennick, R. (2011). “Making sense of Cronbach’s alpha”. International Journal of Medical Education. 2: 53-55.

The World Tourism Organization (UNWTO). (2019), UNWTO World Tourism Barometer and Statistical Annex, January 2019. [ออนไลน์] ได้จาก:https://www2.unwto.org/publicat ion/unwto-world-tourism-barometer-and-statistical-annex-january-2019.

Wan, P. Y. K., and Cheng, E. I. M. (2011). “Service quality of Macao's world heritage site”. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research; Bradford. 5(1): 57-68.

Wilson, C.R., Voorhis, V. and Morgan, B. L. (2007). “Understanding Power and Rules of Thumb for Determining Sample Sizes”. Tutorials in Quantitative Methods for Psychology. 3(2): 43-50.

Yamane, T. (1973) Statistics: An Introductory Analysis (3rd Ed.). Harper and Row, New York.
Zhang, X., Song, H., & Huang, G. Q. (2009). “Tourism supply chain management: A new research Agenda”. Tourism Management. 345–358.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-28