การดำรงอยู่ของภูมิปัญญาท้องถิ่นในสังคมโลกาภิวัตน์

ผู้แต่ง

  • ณวิญ เสริฐผล คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

การดำรงอยู่, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, โลกาภิวัตน์

บทคัดย่อ

           ถึงแม้โลกาภิวัตน์ได้ส่งผลกระทบต่อภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างรุนแรง แต่ภูมิปัญญากลับไม่ได้สูญหายไป ในทางตรงกันข้ามภูมิปัญญากลับมีบทบาทมากขึ้นในฐานะทางเลือกในการพัฒนา ดังนั้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำรงอยู่ของภูมิปัญญาท้องถิ่นในสังคมโลกาภิวัตน์ โดยศึกษาจากเอกสาร คือ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ในกระแสโลกาภิวัตน์ในฐานะที่มีความหลากหลาย คือ 1) เป็นทางเลือกในการพัฒนา 2) เป็นเครื่องมือการพัฒนาเศรษฐกิจ 3) เป็นทุนหรือสินค้าทางวัฒนธรรม 4) เป็นเครื่องจรรโลงจิตใจ 5) เป็นความมั่นคงของชุมชน 6) เป็นอัตลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น 7) เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีพ

References

ขวัญชนก นัยจรัญ และกฤษณา ชาญณรงค์. (2561). บทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11 (3), 329-344.

จารียา อรรถอนุชิต. (2554). แง่งามของสื่อพื้นบ้าน…คุณค่าที่ยังคงอยู่คู่สังคมภาคใต้. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 6 (2), 1-26.

เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และสวรัย บุญยมานนท์. (2556). บทบาทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการพัฒนาสังคมและชุมชนไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ปริทรรศน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 7 (1), 110-151.

ณรงค์ เจนใจ. (2563). การพัฒนาผ้าทอลายไกเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมชุมชนบ้านแม่ลอยหลวง จังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 12 (2), 144-155.

ณวิญ เสริฐผล. (2560). ความมั่นคงของชุมชนเสี่ยงภัยแล้งในลุ่มน้ำชีตอนบน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และสุนทรชัย ชอบยศ. (2558). นโยบายและการบริหารจัดการท้องถิ่นบนฐานของทุนทางสังคม: ทางเลือกการพัฒนาท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21. วารสารสังคมศาสตร์. 11 (1), 53-85.

พรเพ็ญ แก้วหาญ และคณะ. (2561). การพัฒนากระบวนการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชน ในเขตพื้นที่ชนบทจังหวัดเชียงราย. วารสารสังคมวิชาการ. 11 (1), 11-19.

พัชนีย์ เมืองศรี และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ (2556). ก่องข้าว: คุณค่าในวัฒนธรรมอีสานสู่กระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม. วารสารวิจัย มข. มส. (บศ.). 1 (2), 34-42.

พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2552). แรงงานไทยภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์. 49 (3), 39-74.

เพชรตะวัน ธนะรุ่ง และคณะ. (2557). การบูรณาการองค์ความรู้และภูมิปัญญาด้านสุขภาพของชุมชนพึ่งตนเอง. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ. 32 (1), 194-203.

เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2560). วิจัยเพื่อท้องถิ่น: บทบาทมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 35 (3), 137-156.

มะยุรี วงค์กวานกลม. (2561). ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในสังคมวัฒนธรรมอีสาน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 6 (1), 140-148.

วิลาสินี เหมหงส์ และคณะ. (2560). การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดสุรินทร์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 19 (1), 59-68.

วุฒิชัย สายบุญจวง. (2561). ชุมชนเข้มแข็งในทัศนะของชาวชุมชน: กรณีศึกษาบ้านปลายคลองบางโพธิ์เหนือ หมู่ที่ 3 ตำบลบางโพธิ์เหนือ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 8 (1), 119-129.

ศิริเพ็ญ อัตไพบูลย์ และคณะ (2559). ศิลปินแห่งชาติปราชญ์ด้านหมอลำของชาวจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7 (1), 97-110.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2558). ชุมชน ความเป็นส่วนตัวและการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารพัฒนาสังคม.17 (1), 1 -27.

สามารถ จันทร์สูรย์. (2534). ภูมิปัญญาชาวบ้าน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ คุรุสภา.

สิริยา รัตนช่วย. (2560). การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นภายใต้พลวัตของโลกยุคใหม่. วารสารการเมืองการปกครอง. 7 (1), 72-81.

สุกัญญา ไหมเครือแก้ว และคณะ. (2560). ภูมิปัญญาวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นและความสัมพันธ์เชิงพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 9 (4), 274-296.

สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2561). พลวัตการสืบทอดและการผลิตซ้ำสื่อวัฒนธรรมประเพณีวิ่งควายในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 9 (2), 45-59.

เสรี พงศ์พิศ. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์ปริ้นติ้งกรุ๊ป แอนด์พับลิชชิง.

เสรี พงศ์พิศ. (2546). แผนชีวิตเศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ภูมิปัญญาไทย.

อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ์. (2553). การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมของครัวเรือนอีสานในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 27 (2), 1-27.

อรัญ วานิชกร. (2557). องค์ความรู้ ภูมิปัญญาไทย: การออกแบบและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 15 (2), 22-28.

อัครินทร์ อังกูรวงษ์วัฒนา. (2561). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนโดยใช้ศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. 6 (3), 11-17.

อัจฉรา รักยุติธรรม. (2554). การพัฒนาทางเลือกกระแสหลัก. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา. 30 (2), 13-43.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (ม.ป.ป.). ชุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะด้านการพัฒนา: โลกาภิวัตน์ ท้องถิ่นภิวัตน์ นโยบายภิวัตน์?. เชียงใหม่: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อิสระ อินทร์ยา และเค็น เทย์เลอร์. (2558). ภูมิทัศน์วัฒนธรรมกับภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชาวภูไท. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 4 (2), 57-81.

เอกวิทย์ ณ ถลาง และคณะ. (2546). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิง.

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2540). ภูมิปัญญาชาวบ้านสี่ภูมิภาค: วิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-05-13