ทัศนะของนิสิตอาเซียนพุทธต่อสถานภาพของกลุ่มเพศวิถีในศาสนา กรณีศึกษาในพื้นที่สถาบันการศึกษาสงฆ์

ผู้แต่ง

  • มัลลิกา ภูมะธน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

เพศวิถีในศาสนา, มหาวิทยาลัยสงฆ์, สถาบันการศึกษาสงฆ์, นิสิตอาเซียน

บทคัดย่อ

          บทความนี้มุ่งศึกษาทัศนะของนิสิตอาเซียนพุทธต่อสถานภาพของกลุ่มเพศวิถีในศาสนา ใช้วิธีวิทยาการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสัมภาษณ์และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า นิสิตในประเทศพุทธศาสนาเถรวาทอาเซียนส่วนใหญ่สะท้อนให้คิดย้อนกลับไปหาหลักการตามพระธรรมวินัย อันเป็นหลักปฏิบัติของพุทธศาสนาเถรวาทในกลุ่มอาเซียน ส่วนการยอมรับในเชิงสังคมเป็นเรื่องเชิงปัจเจกเฉพาะของแต่ละประเทศ ตราบเท่าที่ยังไม่ได้สร้างความเสียหายหรือผลกระทบต่อพระพุทธศาสนา แต่ทัศนะของนิสิตพม่าจะสะท้อนวิถีที่เข้มข้นว่า ควรยึดเกณฑ์ตามพระวินัยและให้สึกออกไป โดยถือเกณฑ์เชิงสังคมในประเทศพม่าว่า ควรมีการจัดการอย่างเด็ดขาด ส่วนเวียดนาม ลาว เขมร อาจมีท่าทีอาจมองไปถึงเรื่องสิทธิส่วนบุคคลเป็นเรื่องส่วนตัว แต่เมื่อถามส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยและไม่พึงใจต่อการที่กลุ่มบุคคลเพศวิถี ‘กะเทย’ ในศาสนามีอยู่หรือได้รับอนุญาตให้มีในมหาวิทยาลัยสงฆ์

References

กัณฑ์เทศ เทศแก้ว. (2543). พุทธธรรมกับพฤติกรรมรักเพศเดียวกัน ศึกษากรณีทัศนคติของ นักศึกษาชายมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2557). ห้ามกะเทยเป็นพระ ห้ามพระเป็นกะเทย. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 21 (2), 5-10.

ไทยรัฐออนไลน์. (12 พฤษภาคม 2556). เบื้องลึกบวชไม่สึก แจ๊ส มิสทิฟฟานี่. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.thairath.co.th/content/344402

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2559). เพศและความเป็นชายในพุทธศาสนากับการควบคุมภิกษุ สามเณรและบัณเฑาะก์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 12 (1), 3-25.

พระชาย วรธมฺโม. (2555). แกะ*เปลือก*เพศ*พุทธ: รวมบทความปี 2543-2551. กรุงเทพมหานคร: สะพาน.

พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร. (2561). เฟชบุ๊กพื้นที่ทางความเชื่อและเพศ: การแสดงอัตลักษณ์ทางเพศของภิกษุ – FACEBOOK as Belief and Gender Sphere: Transgender Identity of Thai Buddhist Clergymen. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ระดับนานาชาติครั้งที่ 3 The 5th National and the 3rd International Conferences 2018 “จิตอาสากับการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน- Volunteer Spirit with Sustainable Social Development. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น. วันที่ 28 มีนาคม.

พระมหาสมเจต สมจารี (หลวงกัน). (2559). บัณเฑาะก์กับการบรรลุธรรมขั้นสูงในพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 4 (2), 151-165.

พระมหาสักชาย กนฺตสีโล (2551). การศึกษาวิเคราะห์เรื่องบัณเฑาะก์ในกลุ่มพระภิกษุสามเณรไทยในปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระมหาอดุลย์ ยโสธโร (บุตรตะเคียน). (2549). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องบัณเฑาะก์กับการบรรลุธรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระระพิน พุทฺธิสาโร. (2552). บัณเฑาะก์ กะเทย เกย์: ประเด็นปัญหาว่าด้วยการบวชในสังคมไทย. ใน เพศวิถีศึกษาในสังคมไทย: วิพากษ์องค์ความรู้และธรรมเนียมปฏิบัติเรื่องเพศวิถีศึกษาในสังคมไทย. สำนักงานเลขานุการจัดการประชุมประจำปี เพศวิถีศึกษาในสังคมไทย ครั้งที่ 1 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

พระระพิน พุทฺธิสาโร. (2554). บัณเฑาะก์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท: ประเด็นปัญหาว่าด้วยการบวชในสังคมไทย. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

เฟซบุ๊ก. ภาพสะท้อนความเป็นเพศ ในมหาวิทยาลัยสงฆ์ ที่ผ่านการอยู่ร่วม. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.facebook.com/

สมคิด แสงจันทร์. (28 พฤศจิกายน 2560). เพศวิถี (ที่รอการ) ศึกษาในพุทธศาสนา: ประกายความคิดเรื่องเพศวิถีในพุทธศาสนากับตัวอย่างพระอรหันต์เพศวิถี. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.tcijthai.com/news/2017/11/article/7544

อาทิตย์ พงษ์พานิช. (2556). ไม่ได้ขอให้มารัก: กะเทยกับความเชื่อทางพุทธเถรวาทในภาพยนตร์ไทย. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 20 (2), 111-142.

Buddhisāro, Phra Raphin. (2018). Theravada Buddhism: Gender’s Right and Ordination in Thai Society. International Conference “Theravada Buddhism in Vietnam and Thailand: The Regional Culture Dialogue,” Organized by Thai Studies Center, University of Social Sciences and Humanities, Vietnam National University, Ho Chi Minh City, Vietnam (USSH, VNU-HCM). 13-16 September.

Burnet Institute and UNFPA. (2008). Young Women’s Sexual Behaviour Study Vientiane Capital, Lao PDR. The Department of Health of Vientiane Capital (PCCA) in collaboration with the Burnet Institute and UNFPA. Retrieved February 20, 2019, from https://lao.unfpa.org/sites/default/files/resourcepdf/FinalReportYoungWomensSexualBehaviourStudy.pdf

Chennery, C. (2015). Destroying the Binary: Transgenderism in Buddhism. Retrieved February 22, 2019, from https://dc.uwm.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1045&context=rsso

Earth, B. (2007). Diverse Genders and Sexualities in Cambodia, pp. 65-74, Retrieved February 20, 2019, from https://books.google.co.th/books?id=dIvD6eyT27UC&pg=PA62&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false

Interviewee A. (2019). Student at Faculty of Buddhism (Myanmar), MCU. Interview. 1 March.

Interviewee B. (2019). Student at Faculty of Buddhism (Vietnam), MCU. Interview. 8 February.

Interviewee C. (2019). Student at Faculty of Buddhism (Cambodia), MCU. Interview. 1 March.

Interviewee D. (2019). Student at Faculty of Social Sciences (Laos), MCU. Interview. 4 March.

Interviewee E. (2019). Student at Faculty of Buddhism (Khmer-Vietnam), MCU. Interview. 1 March.

Jackson, P. A. (1993). Male Homosexuality and Transgenderism in Buddhist Tradition. Queer Dharma: Voices of Gay Buddhists.

Marr, R. (8 January 2015). Vietnam Removes Same-Sex Marriage Ban. Retrieved February 25, 2019, from https://www.metroweekly.com/2015/01/vietnam-removes-same-sex-marriage-ban/

Myint, L. Ph. P. M. and Htwe, N. E. E. (1 June 2017). Prejudice and Progress: A Snapshot of LGBT Rights in Myanmar. Retrieved October 9, 2018, from https://www.mmtimes.com/lifestyle/26228-prejudice-and-progress-a-snapshot-of-lgbt-rights-in-myanmar.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-04-09