การห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ. 2538: ทัศนะเชิงวิพากษ์ภายใต้หลักการ ความจริงและความคิด
คำสำคัญ:
พระพุทธศาสนากับการเมือง, พระสงฆ์กับการเมือง, ทัศนะเชิงวิพากษ์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการเมืองในบริบทของพระพุทธศาสนาไทย โดยใช้การศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา พบว่า ข้อมูลการห้ามพระสงฆ์ยุ่งเกี่ยวทางการเมืองเกิดขึ้นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2517 และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2538 เพื่อควบคุมพระสงฆ์ต่อประเด็นและการมีส่วนร่วมทางการเมือง แต่ข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามแนวคิดพระพุทธศาสนา ไม่ได้มีข้อห้ามหรือกฎ มีเพียงวินัยห้ามเข้ากองทัพหรือหลักมหาปเทส 4 ที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการวินิจฉัยต่อประเด็นดังกล่าว ประวัติศาสตร์ทางการเมืองในอดีต ได้แก่ พระฝาง มหาดาสมเด็จพระพนรัตน์ ครูบาศรีวิชัย พระพิมลธรรม สันติอโศก พุทธทาสภิกขุ กิตฺติวุฑฺโฒภิกขุ พระมหาอภิชาติ ปณฺณจนฺโท พระพุทธอิสระ ล้วนมีแนวคิดและพฤติการณ์ที่เนื่องด้วยการเมืองทั้งสิ้น ดังนั้น การห้ามจึงเป็นการย้อนแย้งกับหลักการและข้อเท็จจริงในทางประวัติศาสตร์และสิทธิขั้นพื้นฐานในการแสดงออกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
References
เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พระครูโพนสะเม็ก: ตัวตนทางประวัติศาสตร์และบทบาททางพุทธศาสนากับสังคมการเมือง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 9 (2), 131-142.
ชาญคณิต อาวรณ์. (2555). สัญลักษณ์ในหน้าบันวิหารและอุโบสถสมัยครูบาศรีวิชัย: การเมืองวัฒนธรรมในสังคมล้านนา พ.ศ. 2463 – 2477. วารสารวิจิตรศิลป์. 3 (1), 91-118.
ธนากร พันธุระ และอังกูร หงส์คณานุเคราะห์. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ของความเชื่อทางศาสนากับโครงสร้างอำนาจการเมืองไทย: กรณีศึกษาคำสอนของพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว. วชิรเมธี). วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 40 (1), 19-33.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2561). การเมืองไทยสมัยพระนารายณ์. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
เบญจา มังคละพฤกษ์. (2551). การสื่อสารทางการเมืองของพระสงฆ์ไทย: กรณีศึกษาพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) พ.ศ. 2544-2548. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปุญญนุช อธิภัทท์ภาคิน. (2561). การสื่อสารทางการเมืองของพระราชธรรมนิเทศ (พระพยอม กัลยาโณ): ศึกษาในห้วงวิกฤติทางการเมืองปี พ.ศ. 2548-2558. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.
พระไพศาล วิสาโล. (2546). พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2557). แนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กับการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 21 (3), 29-54.
พระระพิน พุทฺธิสาโร. (2554). ความรุนแรงครั้งพุทธกาล: กรณีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ศากยวงศ์. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสุธีวีรบัณฑิต และคณะ. (2561). รัฐกับศาสนา: ศีลธรรม อำนาจ และอิสรภาพ ความขัดกันภายใต้ความเป็นอื่น ความรุนแรงจากรัฐสู่ศาสนา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 7 (2), 273-292.
พลศักดิ์ จิรไกรศิริ. (2562). ความเชื่อในพุทธธรรม สถานภาพในสถาบันสงฆ์และความเชื่อทางการเมืองของพระสงฆ์ไทย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 6 (1), 17-32.
พลอย ธรรมาภิรานนท์. (9 เมษายน 2561). การเมืองในสมัยพระนารายณ์: ความขัดแย้ง ฝรั่งเศสและผังล้มเจ้า. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2562, จาก https://www.the101.world/politics-in-the-reign-of-king-narai/
พันจันทนุมาศ (เจิม). (2553). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 2, 4, 5, 23, 25, 32. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2543). พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล เล่ม 42. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
วิศรุต บวงสรวง. (2557). ก่อนจะมาเป็นธัมมิกสังคมนิยมแบบเผด็จการ: การเคลื่อนไหวทางความคิดของพุทธทาสภิกขุ ในทศวรรษ 2490 - พ.ศ. 2509. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 1 (1), 209-261
วิศรุต บวงสรวง. (2561). กิตฺติวุฑฺโฒภิกขุบนเส้นทางสู่ 6 ตุลาฯ. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2562, จาก https://prachatai.com/journal/2018/10/79079
วุฒินันท์ กันทะเตียน. (2541). พระสงฆ์กับการเมือง: แนวคิดและบทบาทในสังคมไทยปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา. (2536). ชีวิต แนวคิดและการต่อสู้ของ “นรินทร์กลึง” หรือนรินทร์ ภาษิต. กรุงเทพมหานคร: งานดี.
ศิลปวัฒนธรรม. (10 ตุลาคม 2561). “พระอาจารย์ธรรมโชติ” หายไปไหนหลังบางระจันแตก ตามรอยตำนานไปหาคำตอบ. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_21045
สมภาร พรมทา. (2552). พระสงฆ์กับการเมือง. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 16 (3), 1-2.
สุภัคชญา โลกิตสถาพร. (2559). การสื่อสารทางการเมืองของพระไพศาล วิสาโล: ศึกษาในช่วงเวลาปี พ.ศ. 2526-2558. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.
สุรพล สุยะพรหม และนันทนา นันทวโรภาส. (2562). การสื่อสารทางการเมืองของพระเทพปฏิภาณวาที (เจ้าคุณพิพิธ): ศึกษาในช่วงเวลา พ.ศ. 2540-2560. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 6 (5), 2501-2518.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2554). ความคิดทางจริยธรรมกับการเลือกฝ่ายทางการเมืองของพระสงฆ์ในสังคมไทยปัจจุบัน. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 18 (3), 29-54.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2561). รัฐกับศาสนา: ศีลธรรม อำนาจ และอิสรภาพ. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทรรศน์.
อภิญญา ฉัตรช่อฟ้า. (2562) การสื่อสารทางการเมืองเพื่อสถานะภิกษุณีในประเทศไทย: ศึกษากรณีภิกษุณีธัมมนันทา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริรรศน์. 8 (1), 214-225.
Ford, E. (2017). Cold War Monks: Buddhism and America’s Secret Strategy in Southeast Asia. New Haven, CT: Yale University Press.