ความตายในสุนทรีสูตร: ความเชื่อ ผลประโยชน์ การสื่อสารและความรุนแรง

ผู้แต่ง

  • มัลลิกา ภูมะธน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สุนทรีสูตร, ความตายในพระสูตร, พระสูตร

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องการจัดการต่อความเชื่อ ผลประโยชน์ การสื่อสารและการใช้ความรุนแรง ผ่านเรื่องในสุนทรีสูตรที่ปรากฏในพระไตรปิฎก โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยและบทความทางวิชาการต่าง ๆ ซึ่งสะท้อนความคิด วิเคราะห์ร่วมกับสถานการณ์ปัจจุบันในรูปแบบการเขียนบทความทางวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า เรื่องเกิดขึ้นในครั้งพุทธกาลโดยนางสุนทรี เป็นผู้มีศรัทธา แต่ไม่ได้ใช้ปัญญาจนนำไปสู่ความตาย ความตายของนางสุนทรีถูกทำให้เป็นเครื่องมือ ใช้เป็นประโยชน์สำหรับฝ่ายตรงข้ามทางศาสนา ในการให้ร้าย กล่าวร้าย โจมตี โดยมีผลประโยชน์ในเรื่องมวลชน การยอมรับ การนับถือและเศรษฐกิจอยู่เบื้องหลัง องค์ความรู้จากเรื่องนี้สามารถนำมาศึกษาเทียบเคียงในการศึกษาพุทธวิธีในการบริหารข้อมูลข่าวสาร วิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์ของการแข่งขัน ชิงได้ชิงเด่นของบุคคลหรือองค์กรได้

References

โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (28 พฤศจิกายน 2559). ชาวเคิร์ดแห่งประเทศเคอร์ดิสถานผู้อาภัพ. มติชนออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2562, จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_301053

จันทรา เฮงสมบูรณ์. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบทัศนะและหลักปฏิบัติเรื่องพุทธสันติวิธีกับอารยะขัดขืนของชุมชนสันติอโศก. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 20 (2), 143-150.

เฉลิมพล พลมุข. (19 เมษายน 2561). ทฤษฎีสมคบคิด. มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2562, จาก https://www.matichon.co.th/article/news_ 920097

ชนม์ธิดา อุ้ยกูล. (2561). เส้นแบ่งอัตลักษณ์ในอินโดนีเซีย: ความเกลียดชังคนอื่นในแคมเปญต่อต้านอาฮก. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 5 (1), 64-115.

ชลลดา สัจจานิตย์. (2552). มาตรการ NTBs: การกีดกันสำคัญต่อผู้ส่งออกไทย – Non-Tariff Barriers (NTBs): Key Trade Barriers for Thai Exports. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์. 9 (2), 125-134.

ชูชิต ชายทวีป. (2558). มูลเหตุแห่งการเปลี่ยนพระราชหฤทัยของพระเจ้าอโศกมหาราช สู่การปกครองที่ทรงธรรรม. วารวารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 4 (2), 1-13.

แชนด์เลอร์, เดวิด พี. (2543). ประวัติศาสตร์กัมพูชา. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ตรี บุญเจือ. (2560). สื่อกับการจัดการความขัดแย้งต่อกรณีวัดพระธรรมกาย: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ประเมินและพัฒนาเพื่อสังคมไทยยุค 4.0. วารสารวิชาการ กสทช. 2, 498-524.

ไทยรัฐฉบับพิมพ์. (24 ธันวาคม 2561). เปิดความจริง ความเหลื่อมล้ำของคนไทย. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2562, จาก https://www.thairath .co.th/news/business/market-business/1452476

นรพัชร เสาธงทอง. (2015). ประชาธิปไตยแบบไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร. 6 (2), 89-95.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2549). การเมืองไทย สมัยพระนารายณ์. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

บวร โทศรีแก้ว. (28 กุมภาพันธ์ 2559). ศึกวรรณะอินเดียยุคใหม่ ยอมลดชั้นเพื่อให้อยู่รอด. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2562, จาก https://www.thairath.co.th/content/583152

เผ่า นวกุล. (2560). มิชชันนารีกับความขัดแย้งในพม่ายุคอาณานิคม Missionary and Conflict in Colonial Burma. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์. 36 (2), 47-62.

พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2557). แนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กับการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 21 (3), 29-54.

พระระพิน พุทฺธิสาโร. (2554). ความรุนแรงครั้งพุทธกาล: กรณีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ศากยวงศ์. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 25. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2543). พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล เล่ม 42. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

รวิโรจน์. (2558). จิ๋นซีฮ่องเต้ผู้ไร้เมตตา สั่งฆ่าโหดแบบทรมานสุด ๆ. กรุงเทพมหานคร: อนิเมทกรุ๊ป.

วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์. (2557). มองเหลือง-แดง ผ่านขั้วความคิดทางการเมือง. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์. 32 (3), 31-68.

วิไลวรรณ จงวิไลเกษม. (2560). สื่อ (ไม่) ฆ่า: ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล. วารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. 10 (3), 153-163.

ศรีสุพร ช่วงสกุล. (2537). แนวคิดของธรรมยุติกนิกาย: เหตุผลนิยมและมนุษยนิยม. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 1 (2), 54-81.

สมหวัง แก้วสุฟอง. (2559). ระบบวรรณะ: ปัญหาและทางออกในมุมมองของมหาตมะ คานธี และ ดร. บี. อาร์ อัมเบดการ์. วารสารปณิธาน. 12 (2), 121-139.

สมหวัง แก้วสุฟอง. (2561). การดำรงอยู่ของระบบวรรณะในสังคมอินเดีย. วารสารปณิธาน. 14 (1), 115-134.

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2545). เหตุเกิด พ.ศ. 1: วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนาและภิกษุณีสงฆ์ โดยเมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 9 (2), 82-92,

อาชว์ภูริชญ์ น้อมเนียน. (2560). แนวคิดทางสังคมเรื่องอาชีพจากมุมมองเรื่องวรรณะในศาสนาฮินดู. วารสารการบริหารการปกครอง. 6 (1), 31-60.

อำนวย สุขี. (2560). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนบนวิกฤตความขัดแย้งทางการเมืองประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2557. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. 15 (2), 9-32.

เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2558). การเมืองเสื้อสีกับการศึกษาขบวนการโต้กลับตามจารีตการศึกษาขบวนการทางสังคมและการเมือง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 27 (1), 85-128.

Chandler, D. P. (1991). The Tragedy of Cambodian History. New Haven: Yale University Press.

Hagendoorn, A., Linssen, H., and Tumanov, S. V. (2001). Intergroup Relations in States of the Former Soviet Union: The Perception of Russians. London: Psychology Press.

Harris, G. S. (1977). Ethnic Conflict and the Kurds. SAGE Journals. 433 (1), 112-124.

Kurtzer, D. C., Lasensky, S. B. (2008). Negotiating Arab-Israeli Peace: American Leadership in the Middle East. Washington, D.C.: United States Institute of Peace.
Longman, T. (2010). Christianity and Genocide in Rwanda. New York: Cambridge University Press.

Mamdani, M. (2002). When Victims Become Killers: Colonialism, Nativism, and the Genocide in Rwanda. Princeton: Princeton University Press.

Murray, W. and Woods, K. (2014). The Iran-Iraq War: A Military and Strategic History. New York: Cambridge University Press.

Schoenhals, M., ed., (1996). China's Cultural Revolution, 1966–1969: Not a Dinner Party. Armonk: M. E. Sharpe.

Yegar, M. (2002). Between Integration and Secession: The Muslim Communities of the Southern Philippines, Southern Thailand, and Western Burma/Myanmar. Lanham: Lexington Books.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-28