กลยุทธ์การสื่อสาร ลับ ลวง พราง: สมคบคิด โกลาหล แพะรับบาป

ผู้แต่ง

  • มัลลิกา ภูมะธน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • ดิเรก ด้วงลอย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การสื่อสาร, สมคบคิด, โกลาหล, แพะรับบาป

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ของกลยุทธ์การสื่อสาร ลับ ลวง พราง ที่ปรากฏในสถานการณ์ทางการเมืองไทย ใช้วิธีการวิเคราะห์จากสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นในช่วงปัจจุบัน เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัย และการสังเกตต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า กลยุทธการสื่อสารลับ ลวง พราง เป็นแนวทางหนึ่งในการบริหารทางการเมืองภายในประเทศไทย ที่คาบเกี่ยวกับพฤติกรรม “โกหก-หลอกลวง” หรือการใช้กลยุทธ์ในการสื่อสารความจริง โดยแฝงด้วยความไม่จริง เพื่อเป้าหมายบางประการ แต่อีกความหมายหนึ่งทำให้เกิดความวุ่นวาย สงสัยหวาดระแวง จนกระทั่งหาผู้กระทำผิด หรือชี้นิ้วไปหาอีกฝั่งหนึ่งว่าเป็นคนผิดไปอย่างนั้นก็ได้ ดังปรากฏการณ์แพะรับบาป หรือผู้รับผิดชอบต่อความผิดที่เกิดขึ้นจริงและไม่จริงในสถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบัน

References

ชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี. (2558). ปริศนาระเบิดราชประสงค์ ใครทำ? ประเทศไทยก็ไม่เหมือนเดิม. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2558, จาก https://www.thai rath.co.th/content/520273

ดวงรัตน์ ประจักษ์ศิลป์ไท. (2558). วิกฤติหนี้กรีซ. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2558, จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2558/hi255 8-059.pdf

ทีมข่าวต่างประเทศโพสต์ทูเดย์. (2554). เบื้องหลัง 9/11 กับทฤษฎีสมคบคิด. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2558, จาก https://www.posttoday.com/ world/110186

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2550). บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516 – The political role of field Marshal Thanom Kittikachorn 1963-1973. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไทยรัฐออนไลน์. (18 สิงหาคม 2558). บึ้มป่วน! ท่าเรือสาทร ไร้เจ็บ น.1 รุดสอบ. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2558, จาก https://www.thairath.co.th /news/local/519104.

พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย (ปุณขันธ์). (2546). การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของพระเทวทัตที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระระพิน พุทธิสาโร. (2559). “บัตรสนเท่ห์ วิธีสร้างข่าวลือที่ไม่เคยล้าสมัย: ความจริง ความลวง ความรุนแรง และความตาย : Anonymous letter of Rumor building Method that never delays: Truth, Lying, Violence, and Death”. ในงานประชุมสัมมนาและเสนองานวิจัยในงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ระดับนานาชาติครั้งที่ 1 [The 3rd National and the 1st International Conferences 2016] มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น [Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen Campus] ระหว่าง 28-29 มีนาคม 2559 หน้า 3048-3065.

ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร. (2558). เศรษฐกิจจีนครึ่งปีแรกช่วงเวลาของการปรับตัว. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2558, จาก https://moc.go.th/images/Agencies_ Information/Trade_Situation/Commercial_Beiji ng/39.pdf

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 7, 10, 25, 32, 35. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2543). พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล เล่ม 43. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

วนิดา ฉายาสูตบุตร. (2551). การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของพระนางสามาวดีที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วุฒิกรณ์ ชูวัฒนานุรักษ์. (2557). เสถียรภาพทางการเมืองและอำนาจแห่งชาติโดยรวมของจีน: ศึกษากรณีความขัดแย้งในเขตการปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร.

Aaronovitch, David. (2010). Voodoo Histories: The Role of the Conspiracy Theory in Shaping Modern History. London: Penguin Group.

Abuza, Zachary. (2011). The Ongoing Insurgency in Southern Thailand: Trends in Violence, Counterinsurgency Operations, and the Impact of National Politics. Washington, DC: Center for Strategic Research Institute for National Strategic Studies National Defense University.

Abuza, Zachary. (2015). Politics and security in Thailand. Retrieved December 20, 2015, from https://www.newmandala.org/politics-and-security-in-thailand.

Arnold, Gordon B. (2008). Conspiracy Theory in Film, Television, and Politics. United of America: Praeger Publishers.

Chase, Alston. (2003). Harvard and the Unabomber: The Education of an American Terrorist. New York: W.W. Norton and Co.

Giggacher, James. (18 August 2015). Who is behind the Bangkok blast?. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2558, จาก http://asiapacific.anu.edu.au/ newmandala/2015/08/18/who-is-behind-the-bangkok-blast

Moghadam, Assaf. (2008). The Globalization of Martyrdom: Al Qaeda, Salafi Jihad, and the Diffusion of Suicide Attacks. Baltimore: Johns Hopkins University.

เผยแพร่แล้ว

2016-06-30