การเมืองภาคประชาชนกับการพัฒนาประเทศ

Main Article Content

ภูกาญจนกฤษฎิ์ ปุลันรัมย์
ทรงพล โชติกเวชกุล
สุทธิรักษ์ ตาพล
พระครูปลัดเอกพัน สิริวณฺณเมธี (อินจันทึก)

บทคัดย่อ

ในบทความวิชาการเรื่องนี้ ผู้เขียนนำเสนอเกี่ยวกับการเมืองภาคประชาชนโดยนำเสนอบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจและการบริหารจัดการประเทศจะช่วยสร้างระบบการปกครองที่มีความโปร่งใสและเป็นธรรม มีการสร้างสถาบันประชาธิปไตยที่แข็งแกร่งและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการตัดสินใจที่เป็นธรรมและมีความเท่าเทียม การเมืองภาคประชาชนยังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมได้โดยตรง ผ่านการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน อาทิ เช่น การศึกษา การรักษาสุขภาพ และการเข้าถึงสิทธิประโยชน์พื้นฐานอื่น ๆ ดังนั้น การเมืองภาคประชาชน จึงเป็นประการสำคัญในการสร้างสังคมที่เป็นธรรม ยั่งยืน และมีความก้าวหน้า
ในระยะยาวต่อการพัฒนาประเทศ

Article Details

How to Cite
ปุลันรัมย์ ภ., โชติกเวชกุล ท. ., ตาพล ส. ., & สิริวณฺณเมธี (อินจันทึก) พ. . (2024). การเมืองภาคประชาชนกับการพัฒนาประเทศ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 11(4), 14–25. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/270324
บท
บทความวิชาการ

References

กรกนก เหรียญทอง. (2566). การบริหารหลักธรรมาภิบาลในหน่วยงานภาครัฐ. วารสารวิชาการและนวัตกรรมทางสังคมศาสตร์, 5(1), 286-298.

จีรนันท์ ดำเนินงาม และ อภิชาติ พานสุวรรณ. (2566). การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นตำบลภูเขาทองอำเภอพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 6(3), 1-11.

ณัศฐมลกานต์ ไชยวิมลสิริ และคณะ. (2561). การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์, 1(2), 1-10.

พระมหาวิเศษ กนฺตธมฺโม (มั่งคั่ง). (2020). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนเทศบาลเมือง. มจร.เลย ปริทัศน์, 1(3), 46-55.

พัชรินทร์ รัตนวิภา. (2566). เทศบาลนครปากเกร็ด : การสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน. วารสาร ศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 3(2), 35-52.

วิทยากร เชียงกูล. (2556). ปฏิรูปการเมือง. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก http://witayakornclub.wordpress.com.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย.กลุ่มผลิตเอกสารสำนักประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สุพัฒพงศ์ แย้มอิ่ม. (2565). การพัฒนาการเมืองท้องถิ่นด้วยกระบวนการแบบมีส่วนร่วมของภาคประชาชนตามวิถีประชาธิปไตย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(7), 3170-3180.