การส่งเสริมความผาสุกดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวตามหลักพุทธธรรม

Main Article Content

ปุญญาพร ธนัชชวลัย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมความผาสุกดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวตามหลักพุทธธรรม ความผาสุกทางใจมีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และความสัมพันธ์สังคมในการดำรงชีวิตตามหลักพุทธธรรม หลักภาวนา 4 ประกอบด้วย กายภาวนาการพัฒนาด้านร่างกาย ศีลภาวนา การพัฒนาด้านพฤติกรรม จิตภาวนา การพัฒนาด้านจิตใจ ปัญญาภาวนา การพัฒนาด้านปัญญา เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสุขภาวะของผู้สูงอายุให้ดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้การดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองดูแล การส่งเสริมและการสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย นำหลักพุทธธรรมมาประยุกต์เป็นแนวทางการพัฒนาการส่งเสริมความผาสุกและการดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว

Article Details

How to Cite
ธนัชชวลัย ป. (2024). การส่งเสริมความผาสุกดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวตามหลักพุทธธรรม. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 11(1), 66–76. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/265726
บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์. (2561). ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ: สามลดา.

กรุงเทพธุรกิจ. (2567). วิกฤตเด็กเกิดน้อยสูงวัยพุ่งส่งผลกระทบประเทศ. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2567, จาก https://www.bangkokbiznews.com/health/well-being/1115919.

ปัทมา ยมศิริ และคณะ. (2563). การบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(9), 216-229.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2540). พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิต. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 33). กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.

พระมหาเชาวฤทธ ทรัพย์สวัสดิ์ นรินฺโท และคณะ. (2562). การศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตามหลักภาวนา 4 กรณีศึกษา : ผู้สูงอายุบ้านห้วยหอย ตำบลธาตุทอง อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ. (รายงานการวิจัย). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บริษัท นานมีบุคส์ พับลิเคชั่นส์ จำกัด.

สิริหทัย มูลวนิชย์. (2551). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความว้าเหว่ของผู้สูงอายุในชมรมวชิรพยาบาล. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Campbell, A. (1976). Subjective measures of well-being. American Psychologist, 12,117-124.

Cobb, S. (1976). Social support as a moderator of life stress. Psychosomatic Medicine, 38(5), 300-314.

House, J. S. (1981). Work stress and social support. Reading, Mass: Addison-Wesley.

Schaefer, C., Coyne, J. C., & Lazarus, R. S. (1981). The health-related functions of social support. Journal of Behavioral Medicine, 4(4), 381-405.

Weiss, R. (1974). The provision of social relationship. In R. Zick (Ed.), Doing unto others (pp. 17-26). Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.