การทำสมาธิเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณาญาณและการแก้ปัญหา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การทำสมาธิเพื่อให้เกิดผลของสมาธิต่อความคิดมนุษย์ การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณและสามารถแก้ปัญหาในชีวิตได้อย่างเหมาะสม โดยมีวัตถุประสงค์การทำสมาธิเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณาญาณและการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 1) การทำสมาธิเพื่อส่งเสริมการคิด 2) การทำสมาธิสามารถช่วยให้เกิดการคิดอย่างมีวิจารณาญาณ 3) การทำสมาธิเพื่อช่วยแก้ปัญหา 4) เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพในการทำงาน การเล่าเรียน และการทำกิจการทุกอย่าง การปฏิบัติสมาธิกับการทำงานนั้นเพื่อมีจิตใจให้แน่วแน่ เพื่อเพ่งเล็งสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีอารมณ์ไม่ฟุ้งซ่านเป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อการปฏิบัติงาน การเล่าเรียน และการทำกิจการต่าง ๆ ให้ประสบความสำเร็จทั้งสิ้น หากมนุษย์สามารถทำสมาธิได้ในระดับพื้นฐานก็จะส่งเสริมต่อกระบวนการคิดให้เกิดความรู้ความสามารถ มีความฉลาด มีความรับผิดชอบมีเหตุผลในการแก้ไขปัญหาเป็นในการทำงานย่อมทำให้เกิดผลสำเร็จได้กิจต่าง ๆ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อพุธ ฐานิโย). (2565). การพัฒนาจิตด้วยสมาธิและการปฏิบัติสติเชิงพุทธ. สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2565, จาก https://ricd.go.th/webth1/wp-content/uploads/2020/02/mdtmbcp.pdf
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2554). สมาธิ. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2565, จาก https://dictionary.sanook.com
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2565). วิธีทำสมาธิเบื้องต้นอย่างง่าย. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2565, จาก https://40plus.posttoday.com/dhamma/6251
พรทัต โพธินาม. (2562 ). การพัฒนาโปรแกรมการทำสมาธิเพื่อเสริมสร้าง ความฉลาดทางอารมณ์สำหรับ ผู้สูงอายุ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พรทัต โพธินาม. (2562). การพัฒนาโปรแกรมการทำสมาธิเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์สำหรับผู้สูงอายุ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Thaihealthlife. (2565). วิจารณญาณและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2566, จาก https://thaihealthlife.com/healthy/