ก้าวย่างสู่การเป็นผู้นำตื่นรู้ด้วยหลักธรรมทางพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอถึงการนำแนวคิดทางพุทธศาสนาเพื่อนำไปปรับใช้กับการพัฒนาตนเองเพื่อการเป็นผู้นำที่มีภาวะผู้นำภายใต้บริบทของโลกในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในหลากหลายระดับ ผู้นำจำเป็นต้องทำความเข้าใจและมองเห็นการเปลี่ยนแปลงพร้อมทั้งยอมรับตามความเป็นจริงเพื่อหาทางรับมือและปรับตัวและลงมือขับเคลื่อนภาระกิจต่อไป ทั้งนี้การพัฒนาศักยภาพผู้นำให้มีความตระหนักและตื่นรู้เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสำเร็จและความเป็นอยู่ที่ดีขององค์กร ชุมชน และสังคมในวงกว้าง จึงได้นำแนวคิดทางพระพุทธศาสนาเพื่อนำมาพัฒนาผู้นำให้เป็นผู้นำที่มีจิตใจที่เข้มแข็งด้วยการใช้หลักธรรมของพุทธศาสนา โดยเน้นไปที่หลักสัปปุริสธรรม เพื่อให้ผู้นำตื่นรู้ เป็นผู้นำที่มีภาวะผู้นำ สามารถรู้โลก รู้รอบ และรู้ตนเอง ซึ่งจะส่งผลทำให้ผู้นำมีสันติในใจเกิดความสงบเย็น และเกิดปัญญามีความมุ่งมั่นในการทำให้งานและทีมงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ไปพร้อมกับการสร้างโลกที่สงบสุขและปรองดองกันมากขึ้น
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ถวิล อรัญเวศ. (2017). การบริหารจัดการตามหลักสัปปุริสธรรม 7. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2566, จาก https://thawin09.blogspot.com/2017/02/blog-post_12.html
ทัชชกร แสงทองดี. (2562). องค์ประกอบของภาวะผู้นำในองค์กรเชิงพุทธ. วารสารวิจยวิชาการ, 2(1), 135-147.
นครินทร์ วนกิจไพบูลย์. (2023). THE INVIBLE LEADER ผู้นำล่องหน. กรุงเทพฯ: เดอะสแตนดาร์ด.
พรทิพย์ อัยยิมาพันธ์. (2564). บทบาท “ผู้นำ” ยุคโควิด “ต้องสร้างทุกคนให้เป็นผู้บริหาร”. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566, จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-523827
พระทองพจน์ ธีรธมฺโม และคณะ. (2561). หลักสัปปุริสธรรมกับการแก้ไขวิกฤติปัญหาสังคม. วารสารสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 6(1), 51-65.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). การศึกษาเพื่อสันติภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2549). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
ยุติธรรม สินธุ. (2541). แรงจูงใจและรูปแบบการบริหารงาน:ศึกษาเฉพาะกรณีผู้นำระดับต้นในโรงงานผลิตแผ่นเหล็ก. (วิทยานิพนธระดับมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์. (2561). ผู้นำ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
สาริสา สัสสินทร. (2558). พุทธจิตวิทยาบูรณาการ : แนวคิด หลักการและการเสริมสร้างภาวะตื่นรู้. (วิิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Coghlan, D. (1993). A person-centered approach to dealing with resistance to change. Leadership & Organization Development Journal, 14(4), 10-14.
Naphatsawan Sitthitham. (2021). ผู้นำใครก็เป็นได้ แต่ไม่ใช่ทุกคนจะมีภาวะผู้นำเช็ก 10 ลักษณะของผู้นำที่ดี. สืบคนเมื่อ 3 มิถุนายน 2566, จาก https://missiontothemoon.co/softskill-leadership/
Pattarat. (2020). นิยามผู้นำยุคใหม่ ไม่ใช่คนสั่ง-กำกับควบคุม แต่เป็นคนดึงศักยภาพพนักงาน. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2566, จาก https://positioningmag.com/1293324
Praornpit Katchwattana. (2022). Climate change – การปรับตัวสู่ดิจิทัล - ความเหลื่อมล้ำ 3 ปัจจัยท้าทายโลกปัจจุบัน ในมุมมอง ศุภชัย เจียรวนนท์. สืบคนเมื่อ 3 มิถุนายน 2566, จาก https://www.salika.co/2022/01/17/suppachai-chearavanont-vision-cp-2565/