Guideline Development of Student Care and Support Operation System Effective of Schools Under Lopburi Primary Educational Service Area Office 2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่มีประสิทธิภาพของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลพบุรี เขต 2
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were: (1) to study needs and necessities of the implementation of student support system of schools under Lopburi Primary Educational Service Area 2 and (2) to study the development guidelines for the implementation of Student Support System. of schools under Lopburi Primary Educational Service Area 2. The sample group used in this research were school administrators and teachers in charge of student support system of schools under Lopburi Primary Educational Service Area 2 from educational under Lopburi Primary Educational Service Area 2. Number of 103 locations. The tools used in this data collection as an interview and a questionnaire on the present and desirable conditions of the implementation of student support system of schools under Lopburi Primary Educational Service Area 2. The statistics used in the data analysis were hundred percent, mean, standard deviation. and content analysis.
The results of research were found that: (1) The current condition of the student support system operation of schools under Lopburi Primary Educational Service Area 2, overall was at a high level in all aspects, (2) Requirements for implementing the student support system of schools under Lopburi Primary Educational Service Area Office 2, overall it's at a very at high level and (3) guidelines for developing the implementation of the effective student support system of educational under Lopburi Primary Educational Service Area 2, presented in 5 aspects as follows: (1) The aspect of knowing students individually is carried out by collecting student data using various methods using various tools, (2) Student screening is carried out by considering the information on the students' family behavior, (3) The school promotes activities that help develop and promote students, (4) Prevention and problem solving by providing initial counseling and activities to prevent and solve problems, follow up and help and (5) Referring students to carry out by teachers, counselors, coordinating administrative teachers and guidance teachers out-of-school referrals for students with problems beyond the ability of teachers to develop.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมสุขภาพจิต (2545). คู่มือที่ปรึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กรุงเทพฯ: ยูเรนัสอิมเมจ กรุ๊ป.
กิตติศักดิ์ จุลมณฑล. (2554). การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
เชาวลิต จินดารัตน์. (2551). การดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
นิรันดร ปาละมา. (2555). สภาพการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดลำพูน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ฮาซันพริ้นติ้ง.
สมานมิตร ดอกขจร. (2552). การพัฒนาการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนบ้านคอนน้อย อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. (การศึกษาค้นคว้าอิสระ). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สราวุฒิ แก้วจรัญ. (2555). การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสำหรับนักเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจบริหารและจัดการศึกษา พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2563. ลพบุรี: กลุ่มนโยบายและแผน.