The Promote and Support of Local Governance, Case Studied, Public Participation in Developmental Planning Process of Lakha Subdistrict Municipality การส่งเสริมและสนับสนุนการปกครองท้องถิ่น กรณีศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลตำบลหลักห้า
Main Article Content
Abstract
The objectives of this study are to investigate the dynamic of public participation in developmental planning process of lakha subdistrict municipality. The study was carried out through collection of information by secondary data studies (document data) and in-depth interviews. The research finding are following; 1) There are five level of public participation in developmental planning process of lakha subdistrict municipality : Information acknowledgement data offering, meeting attendance, planning attendance, and operational auditing attendance 2) The factor that determine the aspects of public participation : Tranofrmational leadership of community leader, Capacity of committee, spend time of committee, local people and severity of problem and frequency of need 3) The way to promote public participation : the advertising development process of lakha subdistrict municipality, promote community planning and community leader capacity building
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2559). การคลังท้องถิ่นไทย หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ชาย โพธิสิตา. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.
บุษบา สุธีธร และคณะ. (2548). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี และ ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา. (2561). โครงการศึกษาออกแบบวางระบบการทำงานกลไกการบริหารงานและประเมินผลการดำเนินการเพื่อขอจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค. ศูนย์บริการวิชาการสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อุดม ทุมโฆสิต. (2552). การปกครองท้องถิ่นสมัยใหม่ : บทเรียนจากประเทศพัฒนาแล้ว. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุภางค์ จันทวานิช. (2549). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กตัญญู แก้วหานาม และ พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม. (2562). พัฒนาการการขับเคลื่อนแผนชุมชนกับแผนพัฒนาท้องถิ่นในบรทประเทศไทย. วารสารการเมืองการปกครอง, 9(1), 168-188.
กิ่งแก้ว สุวรรณคีรี, นพพร จันทรนำชู และนรินทร์ สังข์รักษา. (2559). รูปแบบการสร้างเสริมพลังอำนาจให้กับชุมชนเพื่อการจัดทำแผนชุมชน. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 9(2), 1787-1801.
พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม และคณะ. (2565). การสร้างกระบวนการและกลไกการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนชุมชนเพื่อส่งเสริมสินค้าพื้นถิ่น กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการเมืองการปกครอง, 12(1), 168-188.
ไตรรัตน์ กอใหญ่, จักรวาล สุขไมตรี และกีรติวรรณ กัลยาณมิตร. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 6(4), 263-276.
ธนกฤต โพธิ์เงิน (2563) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดปทุมธานี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(10), 181-195.
พชร สาตร์เงิน. (2561). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกรวางแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าแคจังหวัดลพบุรี. วารสารเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 19(ฉบับพิเศษ), 189-200.
วิลัยจิตร เสนาราช และคณะ. (2560). การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำดอนกลาง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 11(3), 333-342.
สมัครสมร ภักดีเทวา, อภิญญา อิงอาจ และเอกนฤน บางท่าไม้. (2564). การวิเคราะห์การรับรู้ของประชาชนต่อการปฏิรูปประเทศเพื่อกำหนดประเด็นการประชาสัมพันธ์ตามการรับรู้ของประชาชน. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 1(18), 46-69.
สมนึก จันทร์โสดา และคณะ. (2563). การประชุมหมู่บ้านโดยการมีส่วนร่วมเชิงลึกของประชาชนเพื่อความโปร่งใสในการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(10), 4670-4685.
เอกลักษณ์ อุปริรัตน์. (2552). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา เทศบาลตำบลท่าศาลา และเทศบาลเมืองสิงห์บุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.