ไท-ยวน : การพัฒนาอาหารพื้นบ้านเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในจังหวัดอุตรดิตถ์

Main Article Content

สุทธิพงศ์ ศรีชุมพล
ชลธิดา อุเทศนันท์
ตรงกมล สนามเขต

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “ไท-ยวน : การพัฒนาอาหารพื้นบ้านเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในจังหวัดอุตรดิตถ์” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแหล่งที่มาและวิธีการประกอบอาหารประเภทต่าง ๆ ของชาวไท-ยวน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ การศึกษาเฉพาะชาวไท-ยวน อำเภอ
ท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จากกลุ่มผู้รู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป ผู้หาวัตถุดิบ ผู้ประกอบอาหาร เป็นผู้ให้ข้อมูลและแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลการวิจัยพบว่า อาหารท้องถิ่นของชาวไท-ยวน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ มีความหลากหลายและมีแหล่งที่มาและวิธีการที่ได้มาซึ่งอาหารประเภทต่าง ๆ ของชาวไท-ยวน จังหวัดอุตรดิตถ์ มีผักที่เกิดตามธรรมชาติและวัตถุดิบในท้องตลาดที่ใช้เป็นเครื่องปรุงในการอาหาร ผักบางชนิดได้รับความนิยมเพราะเป็นผักที่ออกตามฤดูกาล หายาก รวมถึงองค์ความรู้เกี่ยวกับการประกอบของอาหาร วิธีการทำอาหารจากภูมิปัญญาชาวไท-ยวน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์  เป็นฐานข้อมูลนำมาต่อยอดเพิ่มมูลค่าในเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อไป 

Article Details

How to Cite
ศรีชุมพล ส. ., อุเทศนันท์ ช. . ., & สนามเขต ต. . . (2020). ไท-ยวน : การพัฒนาอาหารพื้นบ้านเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7(4), 330–344. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/245172
บท
บทความวิจัย

References

กอบแก้ว นาจพินิจ. (2552). อาหารไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

จิตรลดา โยคิน, จิตลัดดา เทพพิบูรย์, บัลกีส เด็งสาแม และ ปาริทัศน์ ญาตินิยม. (2549). หมี่ตะคุของดีโคราช นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ประเวศ วะสี. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : อัมรินทร์พริน ติ้งกรุ๊ป.

พรเทพ อนุสสรนิติสาร และคณะ. (2548).โครงการจัดทำระบบสารสนเทศแบบเว็บ เพื่อการจัดวัตถุดิบเครื่องปรุง เครื่องใช้และอุปกรณ์ตกแต่ง สำหรับร้านอาหารไทยในต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร : คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พรพล รมย์นุกุล. (2542). การถนอมอาหาร. กรุงเทพ : โครงการส่งเสริมเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการสถาบันราชภัฏนครราชสีมา.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2551. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.

ศูนย์ศิลปะวัฒนา สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. (2543). ของดีโคราชเล่มที่ 3. สาขา คหกรรมศิลป์นครราชสีมา : สงวนวงษ์.

สมศรี เจริญเกียรติกุล และคณะ. (2546). การพัฒนาชุดสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมศรี เจริญเกียรติกุล และคณะ. (2545). คุณค่าและประโยชน์ของอาหารไทยที่อาจจะส่งเสริมการมีอายุที่ยืนยาว. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมาน แสงมะลิ. (2529). นโยบายศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเอกสารเผยแพรลิขสิทธิ์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สาโรช บัวศรี. (2532). “จริยธรรมในสังคมไทย” ในรายงานสัมมนาจริยธรรมในสังคมปัจจุบัน.หน้า 13. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. (2549). ฐานข้อมูลอาหารพื้นบ้าน. http://www.library.nnu.ac.th

สุรชัย จิวเจริญสกุล และคณะ. (2550). การพัฒนารูปแบบการสร้างระบบธุรกิจร้านอาหารไทยมืออาชีพ.กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุรชัย จงจิตงาม. ท่องเที่ยว-เรียนรู้ ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง. [ม.ป.ท.] : [ม.ป.พ.], [ม.ป.ป.]. หน้า 16. www.hugchiangkham.com

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2540). ภูมิปัญญาชาวบ้านสี่ภูมิภาค วิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของ ชาวบ้านไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2546). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์.

Lewis, M. Paul (ed.), (2009). Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. Entry for Northern Thai Dallas, Tex.: SIL International.