ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร : กรณีการเกิดขึ้นของธรรมยุติกนิกาย

Main Article Content

วิระยา พิมพ์พันธ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างรัฐกับศาสนาโดยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปพระพุทธศาสนาที่มีลักษณะการปฏิรูปที่มีปัจจัยมาจากภายนอกสถาบันศาสนา มีผลทำให้ศาสนจักรของไทยในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แยกออกเป็น 2 นิกาย คือ มหานิกายและธรรมยุติกนิกาย การปฏิรูปนี้เป็นการสร้างความมั่นคงให้พระพุทธศาสนามารับใช้อุดมการณ์ชาติและผลประโยชน์ของชาติมีผลลัพธ์อยู่ที่การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับรัฐให้มีความแนบแน่นกันมากยิ่งขึ้น การทำให้พุทธศาสนามีความแนบแน่นกับอุดมการณ์ของรัฐเกิดการรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง มีการออกกฎหมายควบคุมคณะสงฆ์ ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ทางการ ได้ตราขึ้นเป็นระเบียบบังคับซึ่งเป็นการเพิ่มหรือลดอำนาจของชนชั้นปกครองของชนชั้นปกครองบางกลุ่มและนำมาซึ่งความสำเร็จในการปฏิรูปประเทศ และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดทางศาสนาทั่วทั้งสังฆมณฑล

Article Details

How to Cite
พิมพ์พันธ์ ว. . . (2021). ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร : กรณีการเกิดขึ้นของธรรมยุติกนิกาย. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8(1), 24–36. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/245150
บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา. (2525). ประวัติพระพุทธศาสนาแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี. กรุงเทพมหานคร: การศาสนา.

กรมศิลปากร สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2544). ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.

คณะธรรมยุติ. (2547). ประวัติคณะธรรมยุต. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2557). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: เอเดี๊ยนสโตร์.

พระไพศาล วิสาโล. (2546). พุทธศาสนาในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

พระเทพกวี (จุนท์ พฺรหมคุตฺโต). (2541) . ทำเนียมแห่งคณะธรรมยุติกนิกาย. กรุงเทพมหานคร: วัดบวรนิเวศวิหาร

พุทธทาสภิกขุ. ฟ้าสางทางฝ่ายบรรพชิตคณะสงฆ์ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2539). พัฒนาการและการจัดองค์กรพระพุทธศาสนา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (2538). พระราชนิพนธ์ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์คุรุสภา.

ภัชราพร ช้างแก้ว. (2530). พุทธศาสนากับการก่อตัวของรัฐไทยแบบใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร

มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. (2540). การปรับตัวทางความรู้ ความจริง และอานาจของชนชั้นนาสยาม พ.ศ. 2325-2411. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร

มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

น.พ.วิบูล วิจิตรวาทการ. (2544). แผ่นดินพระจอมเกล้าฯ. กรุงเทพมหานคร: บ.สร้างสรรค์บุกส์.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2525). วัฒนธรรมกระฏุมพีกับวรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร์.

ร.ต.ท.ชาตรี อุตสาหรัมย์. (2560). พัฒนาการความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างรัฐกับคณะสงฆ์ไทย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต,

บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สิทธิ์ บุตรอินทร์. (2547). พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอัจฉริยภาพด้านการพระศาสนา. กรุงเทพมหานคร:

สำนักธรรมศาสตร์และการเมืองราชบัณฑิตยสถาน แห่งประเทศไทย.

สุพล ศิริ, พระมหา. (2541). พัฒนาการปกครองคณะสงฆ์ไทย พ. ศ. 2484 – 2535. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต,

บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุมาลี มีจั่น. (2560). วุฒิสภากับรัฐบาลความสัมพันธ์เชิงอำนาจหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540.

วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2560). จากพุทธศาสนาแห่งรัฐสู่พุทธศาสนาที่เป็นอิสระจากรัฐ. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์.

อนันต์ วิริยะพินิจ และ นภนาท อนุพงศ์พัฒน์. (2549). การปฏิรูปพุทธศาสนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรรถจักร สัตยานุรักษ์. (2541). การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนผู้นำไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 4 – พ. ศ. 2475. กรุงเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.